เว็บบอร์ดสนทนาภาษาปืน
พฤษภาคม 08, 2025, 04:46:58 AM *
ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน

เข้าสู่ระบบด้วยชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน และระยะเวลาในเซสชั่น
ข่าว: อวป. มีจำหน่ายที่ สนามยิงปืนราชนาวี/สนามยิงปืนบางบัวทอง/สนามยิงปืนศรภ./
/สนามยิงปืนทอ./
สิงห์ทองไฟร์อาร์ม
 
   หน้าแรก   ช่วยเหลือ ค้นหา ปฏิทิน เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก  
หน้า: [1]
  พิมพ์  
ผู้เขียน หัวข้อ: ปืนสั้นระบบเข็มพุ่งกระบอกแรกของโลกคือโมเดลใหนครับ  (อ่าน 999 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
Nero Angel01
Hero Member
*****

คะแนน 275
ออฟไลน์

กระทู้: 3048


« เมื่อ: ตุลาคม 30, 2015, 11:52:56 PM »

 พอดีไปเจอรุ่นนี้ในเน็ตมาเก่ามากครับ ปี1901

<a href="http://www.youtube.com/v/6iTDPeBK0aY" target="_blank">http://www.youtube.com/v/6iTDPeBK0aY</a>
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: ตุลาคม 30, 2015, 11:54:40 PM โดย Nero Angel01 » บันทึกการเข้า
สุพินท์ - รักในหลวง
Guns & Games Staff
Hero Member
*****

คะแนน 3539
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 12903



« ตอบ #1 เมื่อ: พฤศจิกายน 01, 2015, 12:26:38 PM »

คำถามแบบนี้ไม่มีใครกล้าตอบหรอกครับ  ยิ่งศึกษามากขึ้น เดินทางไปดูในพิพิธภัณฑ์อาวุธมากขึ้น  ก็พบว่าตัวเราเล็กลง ๆ  มีเรื่องอีกมากมายที่ยังไม่รู้

แต่ถ้าถามว่าปืนสั้นออโตแบบเข็มพุ่งแบบแรกที่ยิงได้จริง (แต่ไม่ประสบความสำเร็จในการใช้งานจริง) ก็น่าจะเป็น Borchardt model 1893
และถ้าถามว่าปืนสั้นออโตแบบเข็มพุ่งแบบแรกที่ใช้งานเชื่อถือได้ ก็น่าจะเป็นบราวนิง 1900 ระบบโบล์วแบ็ค  และระบบรีคอยล์ก็คือพาราเบลลั่ม ซึ่งเป็นปืนที่โมดิฟายจาก Borchardt model 1893

พาราเบลลั่มใช้กระสุนตัวเองที่ออกแบบใหม่ ทั้ง 7.62 มม.และ 9 มม.  ส่วนกระสุน 7.63 ของ Borchardt model 1893 เมาเซอร์เอาไปโหลดให้แรงขึ้นใช้กับ C96 แต่ยังใช้ปลอกเดิม หัวเดิม  ทุกวันนี้ผมเคยเห็นกระสุน 7.63 Borchardt ในพิพิธภัณฑ์เท่านั้น ไม่เคยได้จับของจริง
แม้แต่นักเล่นปืนที่มีปืน Borchardt model 1893 ก็หาปลอกกระสุนของ Borchardt แท้ ๆ ไม่ได้  ต้องเอาลูก 7.63 เมาเซอร์ไปชงใหม่ให้ Borchardt ทนได้
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: พฤศจิกายน 01, 2015, 01:26:14 PM โดย สุพินท์ - รักในหลวง » บันทึกการเข้า
Nero Angel01
Hero Member
*****

คะแนน 275
ออฟไลน์

กระทู้: 3048


« ตอบ #2 เมื่อ: พฤศจิกายน 02, 2015, 01:15:35 PM »

ขอบคุณผู้การมากครับสำหรับข้อมูล
บันทึกการเข้า
หน้า: [1]
  พิมพ์  
 
กระโดดไป:  

Powered by MySQL Powered by PHP Powered by SMF 1.1.4 | SMF © 2011, Simple Machines Valid XHTML 1.0! Valid CSS!
หน้านี้ถูกสร้างขึ้นภายในเวลา 0.076 วินาที กับ 22 คำสั่ง