เว็บบอร์ดสนทนาภาษาปืน
พฤษภาคม 12, 2025, 11:36:26 PM *
ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน

เข้าสู่ระบบด้วยชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน และระยะเวลาในเซสชั่น
ข่าว: อวป. มีจำหน่ายที่ สนามยิงปืนราชนาวี/สนามยิงปืนบางบัวทอง/สนามยิงปืนศรภ./
/สนามยิงปืนทอ./
สิงห์ทองไฟร์อาร์ม
 
   หน้าแรก   ช่วยเหลือ ค้นหา ปฏิทิน เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก  
หน้า: 1 ... 22 23 24 [25] 26 27 28 ... 43
  พิมพ์  
ผู้เขียน หัวข้อ: /// อยากให้ คสช. เข้ามาดูแล ปตท.หน่อยครับน้ำมันแพงเกินครับ //  (อ่าน 56709 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
ค..ควาย...ใส่ชฎา
Hero Member
*****

คะแนน -15856
ออฟไลน์

กระทู้: 13569


No justice No peace


« ตอบ #360 เมื่อ: มิถุนายน 06, 2014, 05:34:49 PM »

55555  " who're behind  the seen " 555555555 ขำก๊าก ขำก๊าก ขำก๊าก ขำก๊าก

55555  ใคร  "คนอยู่ เบื้องหลัง "  อ่ะ ฮา

ของการ   " ยก  ผลประโยชน์ ค่าธรรมเนียมต่ำ ๆ ให้กับต่างชาติ "  5555 คิก คิก

55555  ถ้ารู้แล้ว  จะ " หนาว " อ่ะ ฮา 555555555555555  ขำก๊าก ขำก๊าก ขำก๊าก

จดหมายสำคัญจาก พล.อ.จรัล กุลละวณิชย์ ถึง น.ส.ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร !?

จากข้อมูลของกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ กระทรวงพลังงาน
ได้รายงานประวัติการสัมปทานปิโตรเลียมในประเทศไทย
นับตั้งแต่การเปิดสัมปทานปิโตรเลียมครั้งแรกเมื่อวันที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2514

มาจนถึงการเปิดสัมปทานปิโตรเลียมครั้งที่ 20 เมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม พ.ศ.2550 นั้น
ตลอดระยะเวลาเกือบ 36 ปีได้มีออกสัมปทานไปแล้วทั้งสิ้น 110 สัญญา
รวมจำนวนแปลงสัมปทานทั้งสิ้น 157 แปลง
ซึ่งในจำนวนนี้ยังคงเหลือดำเนินการอยู่ในปัจจุบัน 63 สัญญา 79 แปลงสัมปทาน
    
       ที่น่าสนใจก็คือการสัมปทานปิโตรเลียมที่ผ่านมา
ประเทศไทยได้ค่าตอบแทนจากเอกชนที่ได้รับค่าภาคหลวงเพียงประมาณร้อยละ 12.5
ของปริมาณปิโตรเลียมทุกชนิดที่ขายหรือจำหน่ายปิโตรเลียม
ซึ่งถือว่าผลตอบแทนที่ให้กับรัฐนั้นต่ำมาก
    
       เปรียบเทียบกับประเทศโบลิเวีย ซึ่งผลิตก๊าซธรรมชาติและน้ำมันน้อยกว่าประเทศไทย
แต่ก็ได้รับผลตอบแทนให้กับรัฐสูงถึงร้อยละ 82
    
       เปรียบเทียบกับประเทศคาซัคสถาน ได้รับผลตอบแทน
จากการขุดเจาะสำรวจปิโตรเลียมจากเอกชนได้สูงถึงร้อยละ 80
    
       รัสเซียได้รับผลตอบแทนจากเอกชนในการขุดเจาะสำรวจปิโตรเลียมสูงถึงร้อยละ 90
ของรายได้ในส่วนที่ราคานั้นสูงกว่า 25 เหรียญต่อบาร์เรล
    
       ประเทศไทยจึงได้รับค่าภาคหลวงอยู่ในระดับที่ต่ำมาก
แต่ประชาชนคนไทยกลับต้องใช้ราคาพลังงานที่สูงยิ่ง
ในราคาที่อ้างว่าเป็นไปตามกลไกลตลาดโลก
เพื่อสร้างกำไรสูงสุดให้กับกลุ่มธุรกิจพลังงานที่จำกัดความร่ำรวยเอาไว้เพียงไม่กี่คน
    
       ประเทศไทยจึงเสียระโยชน์ถึง 2 ด้าน
    
      ด้านหนึ่งประชาชนคนไทยยังคงต้องใช้พลังงานแพง
เพื่อประโยชน์ของกลุ่มทุนพลังงานเหมือนเดิม
    
      ในขณะที่อีกด้านหนึ่งรัฐไทยกลับได้ผลตอบแทนต่ำติดดิน
ทรัพยากรน้ำมันและก๊าซธรรมชาติจึงไม่ก่อให้เกิดประโยชน์กลับใครทั้งสิ้น
เพื่อประโยชน์ของกลุ่มทุนพลังงานเช่นกัน
    
       ปัจจุบันส่วนแบ่งปริมาณปิโตรเลียมที่พิสูจน์แล้วในการสัมปทานของประเทศไทยที่ผ่านมา
กลุ่มบริษัทเชฟรอนได้มากที่สุดเป็นลำดับที่ 1 สูงถึงร้อยละ 50.5 ของปริมาณสัดส่วนปิโตรเลียม
รองลงมาเป็นอันดับที่ 2 ก็คือกลุ่มบริษัท ปตท. มีสัดส่วนร้อยละ 29.2
แต่ผลประโยชน์ใน ปตท. ร้อยละ49 ก็ตกอยู่กับผู้ถือหุ้นคนไทยเพียงไม่กี่คนอยู่ดี
    
       นิตยสารและเว็บไซต์ฟอร์จูน 500 ได้จัดอันดับเชฟรอน
ให้เป็นบริษัทที่มีรายได้สูงเป็นอันดับ 8 ของโลก
โดยมีรายได้ต่อปีสูงถึง 245,621 ล้านเหรียญสหรัฐ (7.37 ล้านล้านบาท)
และมี “กำไร”สูงเป็นอันดับ 3 ของโลกสูงถึง 26,895 ล้านเหรียญสหรัฐ (806,850 ล้านบาท)
    
       ในขณะที่ ปตท. ก็ได้ถูกเลื่อนจากอันดับที่ 128 ของโลก มาเป็นอันดับ 95 ของโลก
ด้วยรายได้ 7,969 ล้านเหรียญสหรัฐ (2.39 ล้านล้านบาท)
และมีกำไรสุทธิ 3,456 ล้านเหรียญสหรัฐ (103,680 ล้านบาท)
    
       มีแต่คนไทยและประเทศไทยที่กลับไม่ได้ผลประโยชน์
จากการที่ประเทศไทยมีทรัพยากรน้ำมันและก๊าซธรรมชาติเป็นจำนวนมาก
    
       แต่ล่าสุดการเปิดสัมปทานปิโตรเลียมรอบที่ 21
ก็กำลังจะดำเนินการต่อไปในเดือนกรกฎาคม พ.ศ.2555
นี้ โดยเป็นการเปิดสัมปทานทั้งหมด 11 แปลง
ภาคกลาง 6 แปลงและอ่าวไทย 5 แปลง ด้วยผลตอบแทนให้กับรัฐต่ำติดดินเหมือนเดิม
    
       จะว่าไปแล้วนี่คือการสัมปทานครั้งใหญ่เท่าที่มีเหลืออยู่ในประเทศไทย
ส่วนที่เหลือหลังจากการสัมปทานครั้งที่ 21 แล้ว
ก็จะเหลือเพียงแค่พื้นที่อ้างสิทธิ์การทับซ้อนเขตไหล่ทวีประหว่างไทย-กัมพูชา
ที่ทางสหรัฐอเมริกากำลังหาทางลดความขัดแย้งระหว่างไทย-กัมพูชา
เพื่อเข้าไปแบ่งเค้กทางพลังงานในอ่าวไทย
ด้วยค่าภาคหลวงต่ำๆให้มากที่สุดและเร็วที่สุดเท่าที่จะเร็วได้
    
       ที่น่าสนใจก็คือนักการเมืองในพรรคการเมืองทุกพรรค
ไม่ว่าฝ่ายค้านหรือรัฐบาลต่างพร้อมใจกันเงียบกริบ
ไม่สนใจและทำเป็นไม่รู้เรื่องดังกล่าว
    
       ทั้งๆ ที่เรื่องการให้สัมปทานพลังงานของชาติเป็นผลประโยชน์ของประชาชนคนไทยทุกคน
ไม่แบ่งพรรค ไม่แยกสี แต่สังเกตดูเอาเถิดว่ามีนักการเมืองคนใด
หรือ แกนนำมวลชนกลุ่มใดบ้างที่สนใจเรื่องผลประโยชน์ของชาติครั้งนี้
    
       จะมีก็แต่ภาคประชาชน สมาชิกวุฒิสภาบางส่วน และนักวิชาการ
ตลอดจนพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยจะได้เคลื่อนไหวในเรื่องดังกล่าวอย่างต่อเนื่อง
    
      นอกจากนี้ยังมี พลเอกจรัล กุลละวณิชย์ ในฐานะเป็นประธานคลังสมอง วปอ. เพื่อสังคม
(วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักรไทย) จึงได้ทำหนังสือถึง น.ส.ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี
เมื่อสัปดาห์ที่แล้วเพื่อขอให้ระงับชั่วคราวการเปิดประมูลสัมปทานสำรวจ
และขุดเจาะปิโตรเลียมรอบที่ 21 โดยเนื้อหาของหนังสือดังกล่าวมีดังนี้
    
       “ด้วยคลังสมอง วปอ.เพื่อสังคม ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งชององค์กรสาธารณะประโยชน์
ดำเนินงานวิเคราะห์ปัญหาด้านยุทธศาสตร์ให้แก่สังคม โดยไม่หวังผลตอบแทนมาตั้งแต่ พ.ศ.2555
ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการบริหารจัดการธุรกิจพลังงาน
ที่จะทำให้ประเทศไทยพัฒนาไปอย่างสมดุล มั่นคง และยั่งยืน
จึงได้ดำเนินการศึกษาข้อมูลจากหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน
และจากแหล่งต่างๆในประเทศและต่างปะเทศโดยมีผลการศึกษา
ที่ใคร่ขอนำเสนอให้รัฐบาลพิจารณา ดังนี้
    
      1. ในปัจจุบันเป็นที่ประจักษ์แล้วว่า ประเทศไทยรวมถึงอาณาเขตทางทะเลของประเทศไทย
เป็นแหล่งทรัพยากรธรรมชาติทั้งน้ำมันและก๊าซที่มีความอุดมสมบูรณ์ระดับสูงของโลกอาณาเขตหนึ่ง
และแหล่งข้อมูลทั้งในประเทศและต่างประเทศได้ประมาณว่า
ประเทศไทยมีปริมาณปิโตรเลียมจำนวนมากเป็นอันดับค่อนข้างสูงของโลก
และสามารถส่งออกได้ในปริมาณที่มากกว่าประเทศในกลุ่ม OPEC บางประเทศ
ซึ่งทำให้ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมเป็นสินค้าส่งออกอันดับหนึ่งของไทย
เป็นมูลค่าปีละกว่า 3.5 แสนล้านบาท ทั้งนี้เป็นผลจากการให้สัมปทานการสำรวจและขุดเจาะปิโตรเลียม
ในผืนแผ่นดินไทยใน 20 รอบที่ผ่านมา ซึ่งประชาชนส่วนใหญ่
ไม่ได้มีส่วนร่วมในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติของชาติ
ที่เป็นสมบัติของไทยทุกคนในระดับที่ควรจะเป็น
    
      2. การเปิดประมูลสัมปทานสำรวจและขุดเจาะปิโตรเลียมครั้งใหม่รอบที่ 21
(ตามสิ่งที่ส่งมาด้วย) ประกอบไปด้วยสัมปทานบนบก 17 แปลง
(ภาคกลางและ ภาคเหนือ 6 แปลง ตะวันออกเฉียงเหนือ 11 แปลง)
และอ่าวไทย 5 แปลง รวมพื้นที่กว่า 45,000 ตารางกิโลเมตรนั้น
เป็นการหยิบยื่นให้โอกาสแก่ผู้ยื่นขอสัมปทาน ซึ่งส่วนใหญ่เป็นบริษัทฯข้ามชาติ
ซึ่งจากข้อมูลที่ได้รับน่าจะทำให้รัฐฯขาดรายได้อย่างน้อยปีละ 1 แสนล้านบาท
จากการให้สัมปทานในครั้งนี้ ซึ่งโดยรวมแล้วประเทศไทยจะขาดรายได้ตลอดอายุสัมปทาน 25 ปี
เป็นเงินจำนวนทั้งสิ้น 2.55 ล้านล้านบาท เป็นอ่างต่ำ ทั้งนี้ยังไม่รวมส่วนต่ออายุอีก 10 ปีอีกด้วย
    
      3. การกำหนดกฎระเบียบ วิธีการ ในรูปแบบของการสัมปทาน
และการกำหนดค่าภาคหลวงตลอดจนผลประโยชน์อื่นๆที่ประเทศควรจะได้รับในอดีต
ถูกกำหนดภายใต้บทสรุปที่ว่า “ประเทศไร้พลังงานธรรมชาติ” หรือ “มีแต่ไม่คุ้มค่าในการสำรวจ”
เป็นผลให้รัฐบาลที่ผ่านมากำหนดเก็บค่าภาคหลวงปิโตรเลียมเข้ารัฐ
ในอัตราค่อนข้างต่ำเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศอื่นๆ ระหว่างร้อยละ 5-15
ซึ่งในทางปฏิบัติสามารถเก็บค่าภาคหลวงเข้ารัฐฯ ได้เพียงประมาณร้อยละ 12 เท่านั้น
    
      4. หากประเทศไทยเปลี่ยนการเก็บค่าภาคหลวงใหม่
ให้อยู่ในระดับใกล้เคียงกับประเทศผู้ให้สัมปทานที่เก็บค่าภาคหลวงระดับสูงเช่น
ประเทศเวเนซูเอลา หรือประเทศโบลิเวีย น่าจะมีรายได้
จากการเก็บค่าภาคหลวงเพิ่มขึ้นปีละประมาณ 3-4 แสนล้านบาท
ซึ่งจะทำให้รัฐบาลมีงบประมาณเพิ่มขึ้นและเพียงพอในการดำเนินนโยบายรัฐสวัสดิการ
ได้อย่างราบรื่นโดยไม่จำเป็นต้องกู้เงินจากแหล่งต่างๆ
    
      5. การผลิตผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมของไทยที่ผ่านมา
ได้มีส่วนค้ำจุนระบบเศรษฐกิจไทยให้เข้มแข็งมาโดยตลอดมา
และหน่วยงานเอกชนไทยสามารถสร้างหน่วยธุรกิจด้านการสำรวจแหล่งปิโตรเลียมขึ้นมาได้
 ซึ่งทำให้ประเทศไทยมีศักยภาพและสมรรถนะในการสำรวจแหล่งปิโตรเลียมในประเทศได้เอง ส
มควรได้นำความสามารถดังกล่าวมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
    
       คลังสมอง วปอ.เพื่อสังคม จึงใคร่ขอกราบเรียนเสนอแนะให้รัฐบาลกรุณาพิจารณา โดยเร่งด่วนดังนี้
    
      1. ควรเปิดโอกาสให้ประชาชนทุกภาคส่วนได้มีส่วนร่วม
และรับรู้ในการกำหนดแนวทางการบริหารจัดการปิโตรเลียมของชาติ
เพื่อความโปร่งใสและเพื่อประโยชน์ของลูกหลานไทยในอีกหลายทศวรรษข้างหน้า
    
      2. ควรระงับชั่วคราวการเปิดประมูลสัมปทานสำรวจและขุดเจาะปิโตรเลียมรอบที่ 21 นี้ไว้ก่อน
 เพื่อทบทวนมาตรการต่างๆ ให้ประเทศไทยและประชนชาวไทย
ได้รับประโยชน์สูงสุดจากทรัพยากรเชื้อเพลิงธรรมชาติ ได้แก่
    
      2.1 ทบทวนกฎระเบียบและประกาศที่กำหนดการเก็บค่าภาคหลวงร้อยละ 5-15
และปรับปรุงวิธีการเก็บค่าภาคหลวงใหม่ทั้งระบบ โดยพิจารณาเพเปรียบเทียบ (Benchmark)
กับประเทศที่เก็บค่าภาคหลวง (เช่น ประเทศเวเนซูเอลา และประเทศโบลิเวีย เป็นต้น) เป็นพื้นฐานในการอ้างอิง
    
      2.2 ทบทวนระบบการแบ่งกำไรจากผู้รับสัมปทาน
เพื่อให้ประเทศไทยได้รับผลประโยชน์อย่างเหมาะสม
    
      2.3 พิจารณาให้หน่วยงานของคนไทยมีสิทธิและหน้าที่หลักในการสำรวจและขุดเจาะปิโตรเลียม
ในอาณาเขตประเทศไทยเพื่อรักษาความมั่นคงด้านพลังงานของชาติในระยะยาว
    
       จึงกราบเรียนมาเพื่อโปรดกรุณาพิจารณา
    
       ขอแสดงความนับถือ
    
       พลเอกจรัล กุลละวณิชย์
       ประธานคลังสมอง วปอ. เพื่อสังคม
บันทึกการเข้า

หัว...ฆรวย

หัวโขนมิวางออก              เจ้าหลงครอบไปทุกที่
อ่าองค์ว่าโสภี                  นฤดีปริ่มเปรมใจ
ลืมไปว่าที่ครอบ                ต้องวางออกนหทัย
สวมครอบตัวตนไว้             ก็แค่ควายใส่ชฎา
ค..ควาย...ใส่ชฎา
Hero Member
*****

คะแนน -15856
ออฟไลน์

กระทู้: 13569


No justice No peace


« ตอบ #361 เมื่อ: มิถุนายน 06, 2014, 08:42:09 PM »

5555  ตามไปอ่าน " ข้างล่าง " พี่เขาเขียนดี เข้าใจง่าย ข้อมูลของจริง เลย อ่ะ ฮา 55555   ขำก๊าก ขำก๊าก ขำก๊าก




https://www.facebook.com/notes/siriwat-whin-vitoonkijvanich/%E0%B8%9E%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2-%E0%B9%80%E0%B8%9E%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%84%E0%B8%99%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2-%E0%B8%88%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%87%E0%B9%86-%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88-2-%E0%B9%82%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%87%E0%B8%AA%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%84%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B3%E0%B8%A1%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B9%83%E0%B8%99%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%A8%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2/10151491058934124
บันทึกการเข้า

หัว...ฆรวย

หัวโขนมิวางออก              เจ้าหลงครอบไปทุกที่
อ่าองค์ว่าโสภี                  นฤดีปริ่มเปรมใจ
ลืมไปว่าที่ครอบ                ต้องวางออกนหทัย
สวมครอบตัวตนไว้             ก็แค่ควายใส่ชฎา
ค..ควาย...ใส่ชฎา
Hero Member
*****

คะแนน -15856
ออฟไลน์

กระทู้: 13569


No justice No peace


« ตอบ #362 เมื่อ: มิถุนายน 06, 2014, 08:55:06 PM »

55555  ยายยกตัวอย่าง  แบบ ชัดๆมาให้ดู อ่ะ ฮา 55555

คนตอบ  เขา " เขียนได้ดี  ชัดเจน " กว่ามวยแทน อย่างยายอ่ะ ฮา5555

5555  อันไหนดี ก็ต้องบอกว่าดี  "  ไม่โม้ ไม่กลัวเสียหน้า " อ่ะ ฮา 5555  ขำก๊าก ขำก๊าก ขำก๊าก


1. ปตท ส่งออกน้ำมันเบนซิน ดีเซล ลิตรละ 24-25 บาทไปเขมรพม่าลาว “ทำไมคนไทยต้องจ่ายลิตรละ40”
ข้อเท็จจริง :

- เพราะเปรียบเทียบคนละฐานราคา ราคาส่งออกเป็นราคาที่ยังไม่รวมภาษีและกองทุน
ซึ่งผู้นำเข้าแต่ละประเทศจะต้องไปจ่ายภาษีและกองทุนอีกครั้งหนึ่งตามแต่ละประเทศจะเรียกเก็บ

ขณะที่ราคาจำหน่ายในประเทศที่นำเปรียบเทียบนั้นเป็นราคาขายปลีกซึ่งรวมภาษีและกองทุนต่างๆแล้ว
(ปัจจุบันภาษีและกองทุนที่เรียกเก็บของไทย อยู่ที่ประมาณ 14.80 บาทต่อลิตร
สำหรับเบนซิน 91 และ 12 บาทต่อลิตร สำหรับแก๊สโซฮอล์ 95 และ 2.95 บาทต่อลิตร
สำหรับน้ำมันดีเซล ณ ราคาวันที่ 19 เม.ย. 2555)

- เมื่อรวมภาษีและกองทุนที่แต่ละประเทศเรียกเก็บแล้ว
ราคาน้ำมันที่กัมพูชาและลาวใช้ไม่ได้ถูกกว่าไทยโดยราคาเบนซินของกัมพูชาและลาวอยู่ที่ 43 บาท
ขณะที่พม่าอยู่ที่ 33 บาทต่อลิตรเพราะเก็บภาษีต่ำกว่า

ขณะที่ราคาน้ำมันดีเซลซึ่งเป็นน้ำมันที่ใช้ในการขนส่งและผลิตที่สำคัญไทยยังมีราคาต่ำกว่าเพื่อนบ้าน
โดยราคาดีเซลของไทยอยู่ที่ 32 บาทต่อลิตร
ขณะที่กัมพูชา ลาว และพม่า อยู่ที่ 39.9 และ 38.7 บาท และ 34 .4บาท ต่อลิตรตามลำดับ

- อย่างไรก็ตามราคาส่งออกก็เปลี่ยนแปลงขึ้นลงตามราคาน้ำมันในตลาดโลก
ณ ปัจจุบันราคาส่งออกซึ่งไม่รวมภาษีและกองทุนจะอยู่ที่ประมาณ 28 บาทต่อลิตร
ใกล้เคียงกับราคา ณ โรงกลั่นที่โรงกลั่นไทยจำหน่าย

2. ไทยผลิตก๊าซได้อันดับที่ 23 ของโลกอ้างอิงจาก Energy Information Administration ของอเมริกา
แต่อ้างว่านำเข้าก๊าซในราคาสูง

ข้อเท็จจริง :
- แม้ว่าประเทศไทยสามารถผลิตก๊าซฯ ได้เป็นอันดับที่ 24 ของโลก
ตามข้อมูลของ EIA http://www.eia.gov/countries
แต่ทราบหรือไม่ว่าเราสามารถผลิตก๊าซฯได้เพียง 1.1% ของการผลิตก๊าซฯทั่วโลกเท่านั้น
ในขณะที่อเมริกา รัสเซีย ผลิตได้ถึง 19.3% และ 18.4%
เพียงแค่ 2 ประเทศ รวมกันเกือบครึ่งหนึ่งของโลก
แล้วจะเรียกว่าเราผลิตก๊าซฯได้เยอะได้อย่างไร
 ไม่เชื่อลองเข้าไปดู www.bp.com/statisticalreview

- นอกจากนั้นจาก website EIA เช่นกันที่บอกว่า ในขณะที่เราผลิตก๊าซฯ ได้เป็นอันดับที่ 24 ของโลก
แต่เรามีปริมาณการใช้ก๊าซฯสูงเป็นอันดับ 20 ของโลก และเป็นผู้นำเข้าอันดับที่ 21 ของโลกเลยทีเดียว

- จากข้อมูลของ สนพ. ในปี 2554 ประเทศไทยสามารถผลิตก๊าซฯได้เพียง 3,581 MMSCFD
แต่เรามีปริมาณการใช้ก๊าซฯ ถึง 4,143 MMSCFD พูดง่ายๆ ก็คือ เราใช้มากกว่าเราผลิตได้
เพราะอย่างนี้เราจึงต้องนำเข้าก๊าซฯจากต่างประเทศ จำนวน 928 MMSCFD
ถึงจะเพียงพอกับความต้องการใช้ของเรา

- ข้อเท็จจริงอีกประการหนึ่งก็คือเราต้องนำเข้าก๊าซฯจาก พม่าตั้งแต่ปี 2541
และเพราะความต้องการใช้พลังงานของเราเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง
ถึงตอนนี้ก๊าซฯจากประเทศเพื่อนบ้านก็ยังไม่พอ ดังนั้นในปี 2554
เราจึงต้องนำเข้าก๊าซฯ ในรูปของของเหลว หรือ LNG (Liquefied Natural Gas)
ที่ต้องผ่านการควบแน่นให้เป็นของเหลว และขนมาไกลจากตะวันออกกลางทำให้ก๊าซฯมีราคาแพงนั่นเอง
นี่เป็นเพียงข้อมูลส่วนหนึ่งของการนำเข้าส่งออกน้ำมันเชื้อเพลิง

ที่หลายๆท่านได้ตั้งข้อสงสัยเกี่ยวกับเรื่องที่ว่า
ปตท ส่งออกน้ำมันไปยังต่างประเทศเพียงลิตรละ 24-25 บาท
แต่ทำไมคนไทยต้องจ่ายถึงลิตรละ40 บาท

หากท่านต้องการทราบข้อมูลเพิ่มเติมสามารถอ่านต่อได้ที่
http://www.รู้จริงพลังงานไทย.com/See Translation
บันทึกการเข้า

หัว...ฆรวย

หัวโขนมิวางออก              เจ้าหลงครอบไปทุกที่
อ่าองค์ว่าโสภี                  นฤดีปริ่มเปรมใจ
ลืมไปว่าที่ครอบ                ต้องวางออกนหทัย
สวมครอบตัวตนไว้             ก็แค่ควายใส่ชฎา
Yut64
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 7665
ออฟไลน์

กระทู้: 9988



« ตอบ #363 เมื่อ: มิถุนายน 07, 2014, 12:57:31 AM »

 ยี๊ ยังมีคนนั่งฝันโดยไม่ดูข้อเท็จจริงและเชื่อเป็นตุเป็นตะอีกมาก น่าจับนางแม่มดไปอบรมที่เทเวศจัง
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: มิถุนายน 07, 2014, 01:00:41 AM โดย Yut64 » บันทึกการเข้า
TUI 48
Sr. Member
****

คะแนน 332
ออฟไลน์

กระทู้: 927


« ตอบ #364 เมื่อ: มิถุนายน 07, 2014, 08:55:09 AM »

55555  " who're behind  the seen " 555555555 ขำก๊าก ขำก๊าก ขำก๊าก ขำก๊าก

55555  ใคร  "คนอยู่ เบื้องหลัง "  อ่ะ ฮา

ของการ   " ยก  ผลประโยชน์ ค่าธรรมเนียมต่ำ ๆ ให้กับต่างชาติ "  5555 คิก คิก

55555  ถ้ารู้แล้ว  จะ " หนาว " อ่ะ ฮา 555555555555555  ขำก๊าก ขำก๊าก ขำก๊าก

จดหมายสำคัญจาก พล.อ.จรัล กุลละวณิชย์ ถึง น.ส.ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร !?

จากข้อมูลของกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ กระทรวงพลังงาน
ได้รายงานประวัติการสัมปทานปิโตรเลียมในประเทศไทย
นับตั้งแต่การเปิดสัมปทานปิโตรเลียมครั้งแรกเมื่อวันที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2514

มาจนถึงการเปิดสัมปทานปิโตรเลียมครั้งที่ 20 เมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม พ.ศ.2550 นั้น
ตลอดระยะเวลาเกือบ 36 ปีได้มีออกสัมปทานไปแล้วทั้งสิ้น 110 สัญญา
รวมจำนวนแปลงสัมปทานทั้งสิ้น 157 แปลง
ซึ่งในจำนวนนี้ยังคงเหลือดำเนินการอยู่ในปัจจุบัน 63 สัญญา 79 แปลงสัมปทาน
     
       ที่น่าสนใจก็คือการสัมปทานปิโตรเลียมที่ผ่านมา
ประเทศไทยได้ค่าตอบแทนจากเอกชนที่ได้รับค่าภาคหลวงเพียงประมาณร้อยละ 12.5
ของปริมาณปิโตรเลียมทุกชนิดที่ขายหรือจำหน่ายปิโตรเลียม
ซึ่งถือว่าผลตอบแทนที่ให้กับรัฐนั้นต่ำมาก
     
       เปรียบเทียบกับประเทศโบลิเวีย ซึ่งผลิตก๊าซธรรมชาติและน้ำมันน้อยกว่าประเทศไทย
แต่ก็ได้รับผลตอบแทนให้กับรัฐสูงถึงร้อยละ 82
     
       เปรียบเทียบกับประเทศคาซัคสถาน ได้รับผลตอบแทน
จากการขุดเจาะสำรวจปิโตรเลียมจากเอกชนได้สูงถึงร้อยละ 80
     
       รัสเซียได้รับผลตอบแทนจากเอกชนในการขุดเจาะสำรวจปิโตรเลียมสูงถึงร้อยละ 90
ของรายได้ในส่วนที่ราคานั้นสูงกว่า 25 เหรียญต่อบาร์เรล
     
       ประเทศไทยจึงได้รับค่าภาคหลวงอยู่ในระดับที่ต่ำมาก
แต่ประชาชนคนไทยกลับต้องใช้ราคาพลังงานที่สูงยิ่ง
ในราคาที่อ้างว่าเป็นไปตามกลไกลตลาดโลก
เพื่อสร้างกำไรสูงสุดให้กับกลุ่มธุรกิจพลังงานที่จำกัดความร่ำรวยเอาไว้เพียงไม่กี่คน
     
       ประเทศไทยจึงเสียระโยชน์ถึง 2 ด้าน
     
      ด้านหนึ่งประชาชนคนไทยยังคงต้องใช้พลังงานแพง
เพื่อประโยชน์ของกลุ่มทุนพลังงานเหมือนเดิม
     
      ในขณะที่อีกด้านหนึ่งรัฐไทยกลับได้ผลตอบแทนต่ำติดดิน
ทรัพยากรน้ำมันและก๊าซธรรมชาติจึงไม่ก่อให้เกิดประโยชน์กลับใครทั้งสิ้น
เพื่อประโยชน์ของกลุ่มทุนพลังงานเช่นกัน
     
       ปัจจุบันส่วนแบ่งปริมาณปิโตรเลียมที่พิสูจน์แล้วในการสัมปทานของประเทศไทยที่ผ่านมา
กลุ่มบริษัทเชฟรอนได้มากที่สุดเป็นลำดับที่ 1 สูงถึงร้อยละ 50.5 ของปริมาณสัดส่วนปิโตรเลียม
รองลงมาเป็นอันดับที่ 2 ก็คือกลุ่มบริษัท ปตท. มีสัดส่วนร้อยละ 29.2
แต่ผลประโยชน์ใน ปตท. ร้อยละ49 ก็ตกอยู่กับผู้ถือหุ้นคนไทยเพียงไม่กี่คนอยู่ดี
     
       นิตยสารและเว็บไซต์ฟอร์จูน 500 ได้จัดอันดับเชฟรอน
ให้เป็นบริษัทที่มีรายได้สูงเป็นอันดับ 8 ของโลก
โดยมีรายได้ต่อปีสูงถึง 245,621 ล้านเหรียญสหรัฐ (7.37 ล้านล้านบาท)
และมี “กำไร”สูงเป็นอันดับ 3 ของโลกสูงถึง 26,895 ล้านเหรียญสหรัฐ (806,850 ล้านบาท)
     
       ในขณะที่ ปตท. ก็ได้ถูกเลื่อนจากอันดับที่ 128 ของโลก มาเป็นอันดับ 95 ของโลก
ด้วยรายได้ 7,969 ล้านเหรียญสหรัฐ (2.39 ล้านล้านบาท)
และมีกำไรสุทธิ 3,456 ล้านเหรียญสหรัฐ (103,680 ล้านบาท)
     
       มีแต่คนไทยและประเทศไทยที่กลับไม่ได้ผลประโยชน์
จากการที่ประเทศไทยมีทรัพยากรน้ำมันและก๊าซธรรมชาติเป็นจำนวนมาก
     
       แต่ล่าสุดการเปิดสัมปทานปิโตรเลียมรอบที่ 21
ก็กำลังจะดำเนินการต่อไปในเดือนกรกฎาคม พ.ศ.2555
นี้ โดยเป็นการเปิดสัมปทานทั้งหมด 11 แปลง
ภาคกลาง 6 แปลงและอ่าวไทย 5 แปลง ด้วยผลตอบแทนให้กับรัฐต่ำติดดินเหมือนเดิม
     
       จะว่าไปแล้วนี่คือการสัมปทานครั้งใหญ่เท่าที่มีเหลืออยู่ในประเทศไทย
ส่วนที่เหลือหลังจากการสัมปทานครั้งที่ 21 แล้ว
ก็จะเหลือเพียงแค่พื้นที่อ้างสิทธิ์การทับซ้อนเขตไหล่ทวีประหว่างไทย-กัมพูชา
ที่ทางสหรัฐอเมริกากำลังหาทางลดความขัดแย้งระหว่างไทย-กัมพูชา
เพื่อเข้าไปแบ่งเค้กทางพลังงานในอ่าวไทย
ด้วยค่าภาคหลวงต่ำๆให้มากที่สุดและเร็วที่สุดเท่าที่จะเร็วได้
     
       ที่น่าสนใจก็คือนักการเมืองในพรรคการเมืองทุกพรรค
ไม่ว่าฝ่ายค้านหรือรัฐบาลต่างพร้อมใจกันเงียบกริบ
ไม่สนใจและทำเป็นไม่รู้เรื่องดังกล่าว
     
       ทั้งๆ ที่เรื่องการให้สัมปทานพลังงานของชาติเป็นผลประโยชน์ของประชาชนคนไทยทุกคน
ไม่แบ่งพรรค ไม่แยกสี แต่สังเกตดูเอาเถิดว่ามีนักการเมืองคนใด
หรือ แกนนำมวลชนกลุ่มใดบ้างที่สนใจเรื่องผลประโยชน์ของชาติครั้งนี้
     
       จะมีก็แต่ภาคประชาชน สมาชิกวุฒิสภาบางส่วน และนักวิชาการ
ตลอดจนพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยจะได้เคลื่อนไหวในเรื่องดังกล่าวอย่างต่อเนื่อง
     
      นอกจากนี้ยังมี พลเอกจรัล กุลละวณิชย์ ในฐานะเป็นประธานคลังสมอง วปอ. เพื่อสังคม
(วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักรไทย) จึงได้ทำหนังสือถึง น.ส.ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี
เมื่อสัปดาห์ที่แล้วเพื่อขอให้ระงับชั่วคราวการเปิดประมูลสัมปทานสำรวจ
และขุดเจาะปิโตรเลียมรอบที่ 21 โดยเนื้อหาของหนังสือดังกล่าวมีดังนี้
     
       “ด้วยคลังสมอง วปอ.เพื่อสังคม ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งชององค์กรสาธารณะประโยชน์
ดำเนินงานวิเคราะห์ปัญหาด้านยุทธศาสตร์ให้แก่สังคม โดยไม่หวังผลตอบแทนมาตั้งแต่ พ.ศ.2555
ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการบริหารจัดการธุรกิจพลังงาน
ที่จะทำให้ประเทศไทยพัฒนาไปอย่างสมดุล มั่นคง และยั่งยืน
จึงได้ดำเนินการศึกษาข้อมูลจากหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน
และจากแหล่งต่างๆในประเทศและต่างปะเทศโดยมีผลการศึกษา
ที่ใคร่ขอนำเสนอให้รัฐบาลพิจารณา ดังนี้
     
      1. ในปัจจุบันเป็นที่ประจักษ์แล้วว่า ประเทศไทยรวมถึงอาณาเขตทางทะเลของประเทศไทย
เป็นแหล่งทรัพยากรธรรมชาติทั้งน้ำมันและก๊าซที่มีความอุดมสมบูรณ์ระดับสูงของโลกอาณาเขตหนึ่ง
และแหล่งข้อมูลทั้งในประเทศและต่างประเทศได้ประมาณว่า
ประเทศไทยมีปริมาณปิโตรเลียมจำนวนมากเป็นอันดับค่อนข้างสูงของโลก
และสามารถส่งออกได้ในปริมาณที่มากกว่าประเทศในกลุ่ม OPEC บางประเทศ
ซึ่งทำให้ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมเป็นสินค้าส่งออกอันดับหนึ่งของไทย
เป็นมูลค่าปีละกว่า 3.5 แสนล้านบาท ทั้งนี้เป็นผลจากการให้สัมปทานการสำรวจและขุดเจาะปิโตรเลียม
ในผืนแผ่นดินไทยใน 20 รอบที่ผ่านมา ซึ่งประชาชนส่วนใหญ่
ไม่ได้มีส่วนร่วมในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติของชาติ
ที่เป็นสมบัติของไทยทุกคนในระดับที่ควรจะเป็น
     
      2. การเปิดประมูลสัมปทานสำรวจและขุดเจาะปิโตรเลียมครั้งใหม่รอบที่ 21
(ตามสิ่งที่ส่งมาด้วย) ประกอบไปด้วยสัมปทานบนบก 17 แปลง
(ภาคกลางและ ภาคเหนือ 6 แปลง ตะวันออกเฉียงเหนือ 11 แปลง)
และอ่าวไทย 5 แปลง รวมพื้นที่กว่า 45,000 ตารางกิโลเมตรนั้น
เป็นการหยิบยื่นให้โอกาสแก่ผู้ยื่นขอสัมปทาน ซึ่งส่วนใหญ่เป็นบริษัทฯข้ามชาติ
ซึ่งจากข้อมูลที่ได้รับน่าจะทำให้รัฐฯขาดรายได้อย่างน้อยปีละ 1 แสนล้านบาท
จากการให้สัมปทานในครั้งนี้ ซึ่งโดยรวมแล้วประเทศไทยจะขาดรายได้ตลอดอายุสัมปทาน 25 ปี
เป็นเงินจำนวนทั้งสิ้น 2.55 ล้านล้านบาท เป็นอ่างต่ำ ทั้งนี้ยังไม่รวมส่วนต่ออายุอีก 10 ปีอีกด้วย
     
      3. การกำหนดกฎระเบียบ วิธีการ ในรูปแบบของการสัมปทาน
และการกำหนดค่าภาคหลวงตลอดจนผลประโยชน์อื่นๆที่ประเทศควรจะได้รับในอดีต
ถูกกำหนดภายใต้บทสรุปที่ว่า “ประเทศไร้พลังงานธรรมชาติ” หรือ “มีแต่ไม่คุ้มค่าในการสำรวจ”
เป็นผลให้รัฐบาลที่ผ่านมากำหนดเก็บค่าภาคหลวงปิโตรเลียมเข้ารัฐ
ในอัตราค่อนข้างต่ำเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศอื่นๆ ระหว่างร้อยละ 5-15
ซึ่งในทางปฏิบัติสามารถเก็บค่าภาคหลวงเข้ารัฐฯ ได้เพียงประมาณร้อยละ 12 เท่านั้น
     
      4. หากประเทศไทยเปลี่ยนการเก็บค่าภาคหลวงใหม่
ให้อยู่ในระดับใกล้เคียงกับประเทศผู้ให้สัมปทานที่เก็บค่าภาคหลวงระดับสูงเช่น
ประเทศเวเนซูเอลา หรือประเทศโบลิเวีย น่าจะมีรายได้
จากการเก็บค่าภาคหลวงเพิ่มขึ้นปีละประมาณ 3-4 แสนล้านบาท
ซึ่งจะทำให้รัฐบาลมีงบประมาณเพิ่มขึ้นและเพียงพอในการดำเนินนโยบายรัฐสวัสดิการ
ได้อย่างราบรื่นโดยไม่จำเป็นต้องกู้เงินจากแหล่งต่างๆ
     
      5. การผลิตผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมของไทยที่ผ่านมา
ได้มีส่วนค้ำจุนระบบเศรษฐกิจไทยให้เข้มแข็งมาโดยตลอดมา
และหน่วยงานเอกชนไทยสามารถสร้างหน่วยธุรกิจด้านการสำรวจแหล่งปิโตรเลียมขึ้นมาได้
 ซึ่งทำให้ประเทศไทยมีศักยภาพและสมรรถนะในการสำรวจแหล่งปิโตรเลียมในประเทศได้เอง ส
มควรได้นำความสามารถดังกล่าวมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
     
       คลังสมอง วปอ.เพื่อสังคม จึงใคร่ขอกราบเรียนเสนอแนะให้รัฐบาลกรุณาพิจารณา โดยเร่งด่วนดังนี้
     
      1. ควรเปิดโอกาสให้ประชาชนทุกภาคส่วนได้มีส่วนร่วม
และรับรู้ในการกำหนดแนวทางการบริหารจัดการปิโตรเลียมของชาติ
เพื่อความโปร่งใสและเพื่อประโยชน์ของลูกหลานไทยในอีกหลายทศวรรษข้างหน้า
     
      2. ควรระงับชั่วคราวการเปิดประมูลสัมปทานสำรวจและขุดเจาะปิโตรเลียมรอบที่ 21 นี้ไว้ก่อน
 เพื่อทบทวนมาตรการต่างๆ ให้ประเทศไทยและประชนชาวไทย
ได้รับประโยชน์สูงสุดจากทรัพยากรเชื้อเพลิงธรรมชาติ ได้แก่
     
      2.1 ทบทวนกฎระเบียบและประกาศที่กำหนดการเก็บค่าภาคหลวงร้อยละ 5-15
และปรับปรุงวิธีการเก็บค่าภาคหลวงใหม่ทั้งระบบ โดยพิจารณาเพเปรียบเทียบ (Benchmark)
กับประเทศที่เก็บค่าภาคหลวง (เช่น ประเทศเวเนซูเอลา และประเทศโบลิเวีย เป็นต้น) เป็นพื้นฐานในการอ้างอิง
     
      2.2 ทบทวนระบบการแบ่งกำไรจากผู้รับสัมปทาน
เพื่อให้ประเทศไทยได้รับผลประโยชน์อย่างเหมาะสม
     
      2.3 พิจารณาให้หน่วยงานของคนไทยมีสิทธิและหน้าที่หลักในการสำรวจและขุดเจาะปิโตรเลียม
ในอาณาเขตประเทศไทยเพื่อรักษาความมั่นคงด้านพลังงานของชาติในระยะยาว
     
       จึงกราบเรียนมาเพื่อโปรดกรุณาพิจารณา
     
       ขอแสดงความนับถือ
     
       พลเอกจรัล กุลละวณิชย์
       ประธานคลังสมอง วปอ. เพื่อสังคม

ขอบคุณครับคุณยาย....ข้อมูลนี้ต้อง +1 จะได้ลบน้อยหน่อยนะครับ..อิ อิ.. หลงรัก
บันทึกการเข้า
TUI 48
Sr. Member
****

คะแนน 332
ออฟไลน์

กระทู้: 927


« ตอบ #365 เมื่อ: มิถุนายน 07, 2014, 08:57:03 AM »


โอ๊ะ..อันนี้ก็ต้อง +อีก1 ...แต่รออีกซักแป๊บนะครับ เพิ่งกดไปตะกี้นี้เอง..55
บันทึกการเข้า
ค..ควาย...ใส่ชฎา
Hero Member
*****

คะแนน -15856
ออฟไลน์

กระทู้: 13569


No justice No peace


« ตอบ #366 เมื่อ: มิถุนายน 07, 2014, 08:58:44 AM »



555555  พี่ตุ๋ย  " ประกันตัว " มาแล้ว เหรอ อ่ะ ฮา 5555 ขำก๊าก ขำก๊าก ขำก๊าก
บันทึกการเข้า

หัว...ฆรวย

หัวโขนมิวางออก              เจ้าหลงครอบไปทุกที่
อ่าองค์ว่าโสภี                  นฤดีปริ่มเปรมใจ
ลืมไปว่าที่ครอบ                ต้องวางออกนหทัย
สวมครอบตัวตนไว้             ก็แค่ควายใส่ชฎา
TUI 48
Sr. Member
****

คะแนน 332
ออฟไลน์

กระทู้: 927


« ตอบ #367 เมื่อ: มิถุนายน 07, 2014, 09:08:55 AM »



555555  พี่ตุ๋ย  " ประกันตัว " มาแล้ว เหรอ อ่ะ ฮา 5555 ขำก๊าก ขำก๊าก ขำก๊าก

เดี๋ยวเหอะ..จับตีก้นเลย..5555

เดี๋ยวคนอื่นเข้าใจผิดแล้วยุ่งนะค๊าบบบ.. แบร่ แบร่
บันทึกการเข้า
Ro@d - รักในหลวง
รักเธอ.. ประเทศไทย
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 4088
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 20186


1 คัน 1 ชีวิตที่อิสระ มี G23 กาแฟอีก 1 เป็นเพื่อน


« ตอบ #368 เมื่อ: มิถุนายน 07, 2014, 10:03:29 AM »

ยี๊ ยังมีคนนั่งฝันโดยไม่ดูข้อเท็จจริงและเชื่อเป็นตุเป็นตะอีกมาก น่าจับนางแม่มดไปอบรมที่เทเวศจัง

คงไม่หรอกมั้ง  คนที่เขาทำหน้าที่รักษาประโยชน์สุขให้กับประชาชน ข้อเท็จจริงที่ต้องวิ่งหา ย่อมต้องคลาดเคลื่่อน
มีทั้งจริง และไม่จริง ปะปนกัน .. แต่เข้าเจตนาทำเพื่อประชาชน ไม่ใช่เพื่อตัวเอง เมื่อประชาชนได้
เขาย่อมได้รับประโยชน์ ตามไปด้วย อดีตของเขาชัดเจน  อย่างเรื่องไฟฟ้า ไม่อย่างนั้น ก็เสร็จโคตรทักษิณ ไปอีกราย

มันต่างจาก พวกขี้ข้า คนที่ ระบอบทักษิณ จัดให้ ที่ทำเพื่อโคตร พวกตน ที่ นำเสนอข้อเท็จจริงที่บิดเบือน เจตนา
ให้เป็นประโยชน์ กับโคตรมัน

และ ปตท. จะโดนอีกไม่ใช่น้อย ข้อเท็จจริงที่ปรากฎ หากมาจาก คนของ ปตท.  ก็เพื่อประโยชน์ ของปตท.
ใครจะเชื่อ หรือไม่เชื่อ นั่นเป็นสิทธิ  คอการเมือง คงมองกันออก

ในกระทู้นี้ ที่ร่วมแจม มี ๒ จุดยืนเท่านั้น รักษาผลประโยชน์ของประฃาชน กับ รักษาผลประโยชน์ ของ ปตท. ที่มันขูดรีด คนไทย
กลุ่มหนึ่ง ชัดเจนไม่ยอมให้ขูดรีดต่อ  และจักต้องเกิด ครรลอง จัดการ กับ ปตท. ตามมาแน่นอน จะจัดการอย่างไร
ในวิถีของ คณะผู้จัดการนั้น ย่อมมีวิธี.. และผลประโยชน์ ย่อมตกอยู่กับประชาชน เป็นหลัก  เยี่ยม


« แก้ไขครั้งสุดท้าย: มิถุนายน 07, 2014, 11:14:51 AM โดย Ro@d - รักในหลวง » บันทึกการเข้า

naisomchai
บุคคลทั่วไป
« ตอบ #369 เมื่อ: มิถุนายน 07, 2014, 11:24:07 AM »

ยี๊ ยังมีคนนั่งฝันโดยไม่ดูข้อเท็จจริงและเชื่อเป็นตุเป็นตะอีกมาก น่าจับนางแม่มดไปอบรมที่เทเวศจัง

คงไม่หรอกมั้ง  คนที่เขาทำหน้าที่รักษาประโยชน์สุขให้กับประชาชน ข้อเท็จจริงที่ต้องวิ่งหา ย่อมต้องคลาดเคลื่่อน
มีทั้งจริง และไม่จริง ปะปนกัน .. แต่เข้าเจตนาทำเพื่อประชาชน ไม่ใช่เพื่อตัวเอง เมื่อประชาชนได้
เขาย่อมได้รับประโยชน์๋ ตามไปด้วย อดีตของเขาชัดเจน  อย่างเรื่องไฟฟ้า ไม่อย่างนัเ้น ก็เสร็จโคตรทักษิณ ไปอีกราย

มันต่างจาก พวกขี้ข้า คนที่ ระบอบทักษิณ จัดให้ ที่ทำเพื่อโคตร พวกตน ที่ นำเสนอข้อเท็จจริงที่บิดเบือน เจตนา
ให้เป็นประโยชน์ กับโคตรมัน

จำเป็นต้องทักเอาไว้ ไม่อยากเห็น ครรลอง ล้นขอบเขต และก้าวล่วง คนของประชาชน

ว่าตามพี่ Ro@d ครับ...

ลงรายละเอียดแยะยุ่บยั่บจนใครที่จับประเด็นเกาะไม่แน่นก็จะหลงประเด็นแล้วโดนลากให้คิดตามเสียจนลืมไปว่าเรากำลังคุยเรื่องอะไรอยู่... ก็เรื่องน้ำมันขุดมาจากไหน เรื่องคุณภาพเป็นอย่างไร เรื่องขนส่งอย่างไร เรื่องค่ากลั่นเท่าไหร่ เรื่องกำลังการผลิตเท่าไหร่ เรื่องต้องกลั่นเท่าไหร่ได้ค่าใช้จ่ายต่อหน่วยต่ำสุด เรื่องกองทุนน้ำมันมีไว้เพื่ออะไร เรื่องใส่สีในน้ำมันจากไหน ฯลฯ เรื่องพวกนี้มันรายละเอียดแยะเกินจนหลงทาง และตามไปเถียงก็ไม่รู้ว่าจะจบอย่างไร เพราะมันก็จะมีรายละเอียดเรื่องใหม่โผล่มาไม่รู้จักจบสิ้น จนกระทั่งเหมือนพายเรือในอ่างหลงทางแต่ไปไม่ได้ถึงไหนเสียเวลาเปล่า...

ประเด็นหลักสรุปรวบยอดคือ มีกำไรแยะเกินฯ เพราะกำไรมาจากทรัพยากรของชาติ ดังนั้นมีกำไรเท่าไหร่ก็ต้องคืนเป็นความสุขแก่คนในชาติ จะเอาไปใส่ในเงินกองทุนเพื่อเสถียรภาพราคาน้ำมันก็ได้ จะเอาไปทำอย่างไรก็ได้ ฯลฯ แต่ต้องไม่ใช่เอาไปจ่ายเป็นปันผลแก่ผู้ถือหุ้นฯ... หากจะเถียงฯ ก็ต้องเถียงออกไปในรูปที่่ว่ากำไรนั้นเกิดจากฝีมือการบริหารธุรกิจในธุรกิจด้านอื่นที่ไม่ได้ใช้ทรัพยากรของชาติไปแสวงประโยชน์...

ซึ่งสอดคล้องกับข่าวล่าสุด(ซึ่งถูกต้องแล้วในสถานะผู้บริหาร - ไม่ใช่พวกเทคนิคนั่งเถียงทุกเม็ดกรวดทุกเม็ดทรายฯ) ทางผู้บริหาร ปตท.ก็ให้ข่าวทางหน้าสื่อฯ ออกมาว่าจะแยกบริษัทออกมาต่างหากระหว่างธุรกิจอื่น(เช่นร้านกาแฟ ร้านสะดวกซื้อในปั๊ม ฯลฯ) กับธุรกิจน้ำมันที่เอาทรัพยากรของชาติไปแสวงประโยชน์... ซึ่งแยกออกมาอย่างนี้ก็ดี ทำให้แยกบัญชีให้เห็นว่าต้นน้ำกับปลายน้ำ แล้วกำไรมหาศาลมันมาจากไหนไปที่ไหน กำไรมาจากไหนฯ, แล้วในที่สุดก็จะทำให้ค่าใช้จ่ายกระจายลงอย่างยุติธรรมฯ...
บันทึกการเข้า
naisomchai
บุคคลทั่วไป
« ตอบ #370 เมื่อ: มิถุนายน 07, 2014, 11:30:28 AM »

นายสมชายมองแบบคนเคยทำมาหากินด้วยการนั่งเขียนรายงานสรุปให้คนอื่นเอาไปนั่งเถียงในโต๊ะเจรจานะครับ... งานนี้ต้องไปสู่ปลายทางคือขอเปิดเจรจาเรื่องค่าภาคหลวงกับผู้ได้รับสัมปทานแหงๆ...

สัญญาทุกอย่างมันเจรจากันได้ หาก 2 ฝ่ายตกลงกันได้... ที่เคยทำกันมายังไงมันก็คุยกันใหม่ได้ทั้งสิ้น...
บันทึกการเข้า
ค..ควาย...ใส่ชฎา
Hero Member
*****

คะแนน -15856
ออฟไลน์

กระทู้: 13569


No justice No peace


« ตอบ #371 เมื่อ: มิถุนายน 07, 2014, 12:35:53 PM »

<a href="https://www.youtube.com/v/AzWK-x5WlXk" target="_blank">https://www.youtube.com/v/AzWK-x5WlXk</a>
บันทึกการเข้า

หัว...ฆรวย

หัวโขนมิวางออก              เจ้าหลงครอบไปทุกที่
อ่าองค์ว่าโสภี                  นฤดีปริ่มเปรมใจ
ลืมไปว่าที่ครอบ                ต้องวางออกนหทัย
สวมครอบตัวตนไว้             ก็แค่ควายใส่ชฎา
ค..ควาย...ใส่ชฎา
Hero Member
*****

คะแนน -15856
ออฟไลน์

กระทู้: 13569


No justice No peace


« ตอบ #372 เมื่อ: มิถุนายน 07, 2014, 04:30:02 PM »

5555  คณะทำงาน ของ  " คสช. "  ท่านสต๊ารท์ เครื่องแล้ว อ่ะ ฮา 5555

ท่านออกมาตราการ  "จูงใจ"  ดึงดูด นักท่องเที่ยว ให้กลับมาเมืองไทย อ่ะ ฮา
ท่านยกเลิก  " Curfew " เมืองท่องเที่ยว  ทางใต้ กับ ตะวันออก อ่ะ ฮา

แต่  ภาคเหนือ  " เจียงใหม่ "  ท่านกำลัง พิ - นา แบบเข้มข้น อ่ะ ฮา

ล่าสุด  " Post "  บางกอกโพสต์ นสพ. ภาษา อินเดีย ม่ะช่าย  " Post today " น๊าาา ฮา
ลงข่าว  มาตราการ  "จูงใจ  นักท่องเที่ยว "อ่ะ ฮา  55555

( อ่าน ภาษา อินเดีย เอาเองน๊าาา ฮา)


http://www.bangkokpost.com/most-recent/413905/

Free packages to stimulate tourism Junta plan to revive domestic tourism




บันทึกการเข้า

หัว...ฆรวย

หัวโขนมิวางออก              เจ้าหลงครอบไปทุกที่
อ่าองค์ว่าโสภี                  นฤดีปริ่มเปรมใจ
ลืมไปว่าที่ครอบ                ต้องวางออกนหทัย
สวมครอบตัวตนไว้             ก็แค่ควายใส่ชฎา
Yut64
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 7665
ออฟไลน์

กระทู้: 9988



« ตอบ #373 เมื่อ: มิถุนายน 08, 2014, 10:02:26 AM »

เมื่อวานไปถ่ายรูปที่ Choc. Ville นักท่องเที่ยวจีนไปคอยเข้าตั้งแต่บ่ายโมง ตอนนี้เอาเงินจีนไว้ก่อนก็ดีนะ
บันทึกการเข้า
SillyOldMan
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 1984
ออฟไลน์

กระทู้: 7567


ผ่านทะเล เห็นบึงน้ำไร้ความหมาย


« ตอบ #374 เมื่อ: มิถุนายน 08, 2014, 12:31:38 PM »

ยี๊ ยังมีคนนั่งฝันโดยไม่ดูข้อเท็จจริงและเชื่อเป็นตุเป็นตะอีกมาก น่าจับนางแม่มดไปอบรมที่เทเวศจัง

คงไม่หรอกมั้ง  คนที่เขาทำหน้าที่รักษาประโยชน์สุขให้กับประชาชน ข้อเท็จจริงที่ต้องวิ่งหา ย่อมต้องคลาดเคลื่่อน
มีทั้งจริง และไม่จริง ปะปนกัน .. แต่เข้าเจตนาทำเพื่อประชาชน ไม่ใช่เพื่อตัวเอง เมื่อประชาชนได้
เขาย่อมได้รับประโยชน์ ตามไปด้วย อดีตของเขาชัดเจน  อย่างเรื่องไฟฟ้า ไม่อย่างนั้น ก็เสร็จโคตรทักษิณ ไปอีกราย

มันต่างจาก พวกขี้ข้า คนที่ ระบอบทักษิณ จัดให้ ที่ทำเพื่อโคตร พวกตน ที่ นำเสนอข้อเท็จจริงที่บิดเบือน เจตนา
ให้เป็นประโยชน์ กับโคตรมัน

และ ปตท. จะโดนอีกไม่ใช่น้อย ข้อเท็จจริงที่ปรากฎ หากมาจาก คนของ ปตท.  ก็เพื่อประโยชน์ ของปตท.
ใครจะเชื่อ หรือไม่เชื่อ นั่นเป็นสิทธิ  คอการเมือง คงมองกันออก

ในกระทู้นี้ ที่ร่วมแจม มี ๒ จุดยืนเท่านั้น รักษาผลประโยชน์ของประฃาชน กับ รักษาผลประโยชน์ ของ ปตท. ที่มันขูดรีด คนไทย
กลุ่มหนึ่ง ชัดเจนไม่ยอมให้ขูดรีดต่อ  และจักต้องเกิด ครรลอง จัดการ กับ ปตท. ตามมาแน่นอน จะจัดการอย่างไร
ในวิถีของ คณะผู้จัดการนั้น ย่อมมีวิธี.. และผลประโยชน์ ย่อมตกอยู่กับประชาชน เป็นหลัก  เยี่ยม




พี่ฐาได้อ่านคำให้การคดีที่กระทรวงพลังงาน ฟ้องหมิ่นประมาทเฟซฯ"คุยกับหม่อมกร" นัดสืบพยานครั้งที่ 2หรือยังครับ?

เล่ากันว่าพอจำเลยสำแดงเอกสารชี้แจงแล้ว แม้แต่ศาลยังหลุดอาการทุเรศโจทย์ ... รอศาลตัดสินเสียก่อน พวกที่บอกว่าเป็นไปไม่ได้ ปตท.ไม่ผิดก็จะเงียบๆกันไปเอง
บันทึกการเข้า

What man is a man , who does not make the world better?
หน้า: 1 ... 22 23 24 [25] 26 27 28 ... 43
  พิมพ์  
 
กระโดดไป:  

Powered by MySQL Powered by PHP Powered by SMF 1.1.4 | SMF © 2011, Simple Machines Valid XHTML 1.0! Valid CSS!
หน้านี้ถูกสร้างขึ้นภายในเวลา 0.134 วินาที กับ 21 คำสั่ง