เว็บบอร์ดสนทนาภาษาปืน
พฤษภาคม 29, 2025, 03:19:51 AM *
ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน

เข้าสู่ระบบด้วยชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน และระยะเวลาในเซสชั่น
ข่าว: เวบบอร์ดอวป.ยินดีต้อนรับสุภาพชนทุกท่าน กรุณาใช้คำสุภาพด้วยครับ
 
   หน้าแรก   ช่วยเหลือ ค้นหา ปฏิทิน เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก  
หน้า: [1]
  พิมพ์  
ผู้เขียน หัวข้อ: ช่วยตอบหน่อยครับ เกี่ยวกับผิวปืน M-1911A1  (อ่าน 4488 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
xpeoplex
Newbie
*

คะแนน 2
ออฟไลน์

กระทู้: 9


« เมื่อ: สิงหาคม 18, 2011, 01:04:37 PM »

คือผมจะไปทำใหม่อ่ะครับ แต่สงสัยบางประการ คือว่าผมไปเจอในเว็บฝรั่ง เห็นเค้าเขียนว่า Colt M-1911A1 US Army ตอนนั้นเค้ารมสองตัว หนึ่งคือ Blue Finish และสองคือ Parkerized Finish ผมเลยเกิดคำถามครับ
1. Blue Finish แปลเป็นไทยว่าอะไร (คืออะไร)
2. Parkerized Finish แปลเป็นไทยว่าอะไร (คืออะไร)
3. ทั้งสองตัวนี้แตกต่างกันอย่างไร
4. แล้วคำว่ารมดำของเราแปลเป็นภาษาอังกฤษว่าอย่างไร
5. แล้วที่มีคนบอกว่า ถ้าจะเอา Colt M-1911A1 US Army มารมใหม่ ให้คล้ายๆต้นตำรับ ต้องรมฟอสเฟส (ขออภัยถ้าพิมพ์ผิด) แล้วฟอสเฟสมันคืออะไรครับ?
6. จากข้อที่ 5 (แล้วทำไมไม่รม Blue Finish หรือ Parkerized Finish ล่ะ ทำไมต้องรมฟอสเฟส?)
7. แล้วพวก Ithaca, Ramington Rand, US & S, Singer มันเป็น Blue Finish หรือ Perkerized Finish ครับ

ขอบคุณมากๆครับ ^_^
บันทึกการเข้า
มะขิ่น
Hero Member
*****

คะแนน 2453
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 17813


"ทหารแก่ไม่มีวันตาย แต่จะค่อยๆเลือนหายไป"


« ตอบ #1 เมื่อ: สิงหาคม 18, 2011, 01:17:06 PM »

คือผมจะไปทำใหม่อ่ะครับ แต่สงสัยบางประการ คือว่าผมไปเจอในเว็บฝรั่ง เห็นเค้าเขียนว่า Colt M-1911A1 US Army ตอนนั้นเค้ารมสองตัว หนึ่งคือ Blue Finish และสองคือ Parkerized Finish ผมเลยเกิดคำถามครับ
1. Blue Finish แปลเป็นไทยว่าอะไร (คืออะไร)
2. Parkerized Finish แปลเป็นไทยว่าอะไร (คืออะไร)
3. ทั้งสองตัวนี้แตกต่างกันอย่างไร
4. แล้วคำว่ารมดำของเราแปลเป็นภาษาอังกฤษว่าอย่างไร
5. แล้วที่มีคนบอกว่า ถ้าจะเอา Colt M-1911A1 US Army มารมใหม่ ให้คล้ายๆต้นตำรับ ต้องรมฟอสเฟส (ขออภัยถ้าพิมพ์ผิด) แล้วฟอสเฟสมันคืออะไรครับ?
6. จากข้อที่ 5 (แล้วทำไมไม่รม Blue Finish หรือ Parkerized Finish ล่ะ ทำไมต้องรมฟอสเฟส?)
7. แล้วพวก Ithaca, Ramington Rand, US & S, Singer มันเป็น Blue Finish หรือ Perkerized Finish ครับ

ขอบคุณมากๆครับ ^_^

ไม่เก่งภาษาอังกฤษนะครับ .................... เอาเป็นว่าขอตอบตามที่รู้มาอย่างงูๆปลาๆก็แล้วกัน

คงไม่ว่ากันนะครับ

1. ลักษณะผิวแบบรมดำเงาครับ ................ ถ้าเป็นในส่วนของ Colt (ปืนรมดำทั่วๆไปที่ทำขายชาวบ้าน)มองดูเหมือนรมดำ แต่ถ้าเอาไปดูกลางแดด ผิวออกน้ำเงินเข้มครับ .................. เอกลักษณ์ของยี่ห้อนี้

2. ผิวเหมือนฉาบด้วยสารทางเคมี คล้ายๆชุบครับ ................แต่ติดแน่นมาก ออกสีน้ำตาลไหม้จนเกือบดำ ใช้ไปเรื่อยๆหรือเก็บมานานๆ ผิจะจางลง ออกสีน้ำตาลไหม้แบบเม็ดมะขาม สวยมาก

3. เปรียบเทียบคำตอบดูครับ

4. เห็นเรียกกันแบบ ข้อ 1. ครับ

5. รมฟอสเฟต คือการรมผิวด้านสีเขียวเข้มครับ

6. รมฟอสเฟต ก็สวยนะครับ

7. มีทั้งสองผิวครับ ปืนที่กล่าวมาเป็นการผลิตช่วงกำลังทำสงคราม ดังนั้นน้ำยารมปืนตัวไหนที่โรงงานมีในขณะนั้น ก็ทำด้วยน้ำยาชนิดนั้นๆ.......................

รู้แค่นี้ครับ
บันทึกการเข้า

อย่าดึงฟ้าต่ำ  อย่าทำหินแตก  อย่าแยกแผ่นดิน
มะขิ่น
Hero Member
*****

คะแนน 2453
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 17813


"ทหารแก่ไม่มีวันตาย แต่จะค่อยๆเลือนหายไป"


« ตอบ #2 เมื่อ: สิงหาคม 18, 2011, 01:21:05 PM »

ผิวแบบรมเขียวฟอสเฟตครับ



บันทึกการเข้า

อย่าดึงฟ้าต่ำ  อย่าทำหินแตก  อย่าแยกแผ่นดิน
สุพินท์ - รักในหลวง
Guns & Games Staff
Hero Member
*****

คะแนน 3539
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 12903



« ตอบ #3 เมื่อ: สิงหาคม 18, 2011, 01:38:40 PM »

เพิ่มเติมให้
- Blue Finish มีทั้งผิวมันและผิวด้าน  สมัยก่อนอาจจะรมควันยางไม้ คล้ายกับพระรมดำบาตด้วยใบขนุน ต่อมาทาด้วยสารเคมีให้เป็นสนิมสีดำ  ปัจจุบันใช้วิธีต้มในด่างแก่ให้ผิวเหล็กไหม้ดำ
- Parkerized Finish  ควรจะเป็นการรมดำฟอสเฟต (ทำปฏิกริยากับกรดฟอสเฟอริค)  แต่บางโรงงานก็ใช้วิธีพ่นทรายแล้วต้มในน้ำยารมดำธรรมดา
- Parkerized Finish  เป็นการรักษาผิวเหล็กที่ทนทาน  ปัจจุบันก้าวหน้าไปมาก มีการเพิ่มโลหะอื่น ๆ เข้าไปในกระบวนการเช่นสังกะสี  โครเมี่ยม  แมงกานีส  เพื่อเพิ่มความทนทาน  จับสีดีขึ้น หรือมีการหล่อลื่นในตัวเอง
บันทึกการเข้า
มะขิ่น
Hero Member
*****

คะแนน 2453
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 17813


"ทหารแก่ไม่มีวันตาย แต่จะค่อยๆเลือนหายไป"


« ตอบ #4 เมื่อ: สิงหาคม 18, 2011, 01:43:46 PM »

 Grin

ผิวปืนสไลด์ของปืน HK กระบอกนี้เป็นแบบ Parkerized Finish ครับ



บันทึกการเข้า

อย่าดึงฟ้าต่ำ  อย่าทำหินแตก  อย่าแยกแผ่นดิน
แปจีหล่อ
Hero Member
*****

คะแนน 6324
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 8251



« ตอบ #5 เมื่อ: สิงหาคม 18, 2011, 01:52:47 PM »

ผิวแบบรมเขียวฟอสเฟตครับ




ขออนุญาตินอกเรื่องนิดนึงนะครับในรูปนี้ปืนอะไรครับแล้วรูปทีสองนี่ใช่ศูนย์หลังหรือเปล่าครับที่เป็นแท่งนะครับเค้าเลังยังไงครับ
บันทึกการเข้า

สีกากีเป็นสีของดิน ข้าราชการควรต้องติดดิน ออกพื้นที่รับฟังปัญหาของชาวบ้าน ข้าราชการคือ ข้าที่ทำกิจการต่างๆให้กับพระราชา เครื่องแบบข้าราชการสีกากีคือสีแห่งข้ารับใช้แผ่นดิน
มะขิ่น
Hero Member
*****

คะแนน 2453
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 17813


"ทหารแก่ไม่มีวันตาย แต่จะค่อยๆเลือนหายไป"


« ตอบ #6 เมื่อ: สิงหาคม 18, 2011, 02:00:23 PM »

ปืน Springfiled 1903 ครับ ..............

ศูนย์หลังเป็นใบสำหรับปรับยิงระยะไกล ............. ถ้ายกใบศูนย์หลังให้ตั้งขึ้นแล้วปรับแท่งศูนย์หลังตามระยะแล้วใช้บากบนแท่งศูนย์หลังเล็ง ............ แต่ถ้าจะเล็งระยะใกล้โดยที่ใบศูนย์หลังยังยกตั้งอยู่  ก็ใช้บากศูนย์หลังตรงรูรูปสามเหลี่ยมเล็ง...............

ถ้าพับศูนย์หลังลง ...............ใช้บากที่เป็นร่องของแท่งที่ปรับได้เล็ง เพราะร่องบากศูนย์หลังจะตั้งขึ้นมา เมื่อพับใบศูนย์หลังลงไป..................
บันทึกการเข้า

อย่าดึงฟ้าต่ำ  อย่าทำหินแตก  อย่าแยกแผ่นดิน
Omsin
Jr. Member
**

คะแนน 6
ออฟไลน์

กระทู้: 80



« ตอบ #7 เมื่อ: สิงหาคม 18, 2011, 02:00:36 PM »

ขอบคุณครับ สำหรับความรู้
บันทึกการเข้า
แปจีหล่อ
Hero Member
*****

คะแนน 6324
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 8251



« ตอบ #8 เมื่อ: สิงหาคม 18, 2011, 02:07:06 PM »

ขอบคุณมากครับ  ไหว้
บันทึกการเข้า

สีกากีเป็นสีของดิน ข้าราชการควรต้องติดดิน ออกพื้นที่รับฟังปัญหาของชาวบ้าน ข้าราชการคือ ข้าที่ทำกิจการต่างๆให้กับพระราชา เครื่องแบบข้าราชการสีกากีคือสีแห่งข้ารับใช้แผ่นดิน
จังโก้
Sr. Member
****

คะแนน 112
ออฟไลน์

กระทู้: 620



« ตอบ #9 เมื่อ: สิงหาคม 18, 2011, 02:32:34 PM »

ถ้ารู้ว่าปืนที่จะทำเป็น U.S Army รุ่นไหน ผลิตช่วงปีไหน รมผิวแบบไหน ให้ช่างทำแบบนั้นผมว่า ปืนจะสวยตรงรุ่น ใกล้เคียงของเดิมครับ
บันทึกการเข้า
หน้า: [1]
  พิมพ์  
 
กระโดดไป:  

Powered by MySQL Powered by PHP Powered by SMF 1.1.4 | SMF © 2011, Simple Machines Valid XHTML 1.0! Valid CSS!
หน้านี้ถูกสร้างขึ้นภายในเวลา 0.066 วินาที กับ 21 คำสั่ง