เว็บบอร์ดสนทนาภาษาปืน
พฤษภาคม 19, 2025, 10:03:15 PM *
ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน

เข้าสู่ระบบด้วยชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน และระยะเวลาในเซสชั่น
ข่าว: เวบบอร์ดอวป.ยินดีต้อนรับสุภาพชนทุกท่าน กรุณาใช้คำสุภาพด้วยครับ
 
   หน้าแรก   ช่วยเหลือ ค้นหา ปฏิทิน เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก  
หน้า: 1 [2]
  พิมพ์  
ผู้เขียน หัวข้อ: ถ้าปืนเราถูกเรียกไปตรวจ แล้วสนิมขึ้นเต็มจะฟ้องร้องได้ไหม  (อ่าน 3504 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
ขุนช้าง-รักในหลวงและสมเด็จพระเทพ
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 1183
ออฟไลน์

กระทู้: 12698



เว็บไซต์
« ตอบ #15 เมื่อ: สิงหาคม 30, 2012, 01:58:14 PM »

ฟ้องแพ่งนี้ปวดกะโหลกกันเอาเรื่องนะครับ  หัวเราะร่าน้ำตาริน หัวเราะร่าน้ำตาริน หัวเราะร่าน้ำตาริน หัวเราะร่าน้ำตาริน
บันทึกการเข้า

คนโง่ มันทำไม่คิด แต่คนชั่ว มันคิดแล้วจึงทำ จึงเรียกว่า คิดชั่ว //by อ.เหลือง

เกิดเป็นคน ทำดีได้ง่ายกว่าเดรัจฉานตั้งเยอะ แล้วมีเหตุผลอะไรที่จะไม่ทำความดี
Ro@d - รักในหลวง
รักเธอ.. ประเทศไทย
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 4088
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 20186


1 คัน 1 ชีวิตที่อิสระ มี G23 กาแฟอีก 1 เป็นเพื่อน


« ตอบ #16 เมื่อ: สิงหาคม 30, 2012, 02:22:38 PM »

๒ -  ๕ วัน ก็ควรได้รับปืนคืนแล้ว ปืนน่าจะมีรอย ป้ายสีแดง ตรง S /N ,เลขหมายทะเบียนปืน และคราบเขม่าในรังเพลิง

การทำงาน ติดต่อกับปืนหลายกระบอก จักต้องใส่ถุงมือยางทั้งนาน จนท.ก็จำเป็นต้องปกป้องตัวเองด้วยเหมือนกัน
อย่าไปวิตกกังวล กับ จนท.ผู้เชี่ยวชชาญ โดยไม่จำเป็นเลย ครับ.  Grin
บันทึกการเข้า

Marcuechio
Full Member
***

คะแนน 23
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 419



« ตอบ #17 เมื่อ: สิงหาคม 30, 2012, 02:41:33 PM »

ถ้า ฟ้องได้จริง ท่านจะเอาหรือครับ เขาต้องเอาของกลางไปตรวจสอบความเสียหายอีกหลายวัน เพราะเป็นของกลาง หัวเราะร่าน้ำตาริน
บันทึกการเข้า
storm_54321
Hero Member
*****

คะแนน 142
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 2282


รักในหลวง


« ตอบ #18 เมื่อ: สิงหาคม 30, 2012, 02:52:49 PM »

ปืนแม่ผมสมิทโมเดล51โดนเอาไปตรวจสอบเดือนกว่ากลับมาสภาพดูไม่จืดเลยครับ หัวเราะร่าน้ำตาริน หัวเราะร่าน้ำตาริน
บันทึกการเข้า

อยากให้โลกมีแต่สันติสุข
Ro@d - รักในหลวง
รักเธอ.. ประเทศไทย
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 4088
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 20186


1 คัน 1 ชีวิตที่อิสระ มี G23 กาแฟอีก 1 เป็นเพื่อน


« ตอบ #19 เมื่อ: สิงหาคม 30, 2012, 03:05:27 PM »

ปืนยุคนี้ ถ้าพวก ปืนทะเบียน ที่ตัวปืนเกิดหลังปี ๒๕๑๘  และยิ่งเป็นปืน กึ่งออโต โครงโพลิเมอร์ ที่มี S/N 3 จุด ด้วยแล้ว ไม่น่าจะมีปัญหา
ปืนประเภทนี้ ดูด้วยสายตา ก็พอบอกได้แล้ว ว่าสวมทะเบียนไหม และเลขทะเบียน ที่ปีนปัญหาให้ตรวจสอบ คือทะเบียน กท. ที่ไม่ใช่ ตอกจากกองทะเบียน

ข้อเท็จจริงเหล่านี้ จะเป็นครรลองกำหนดให้ จะกระทำการตรวจสอบปืนกระบอกนั้น ประมาณใด  หรือปืนเกิดหลังปี ๒๕๑๘-๑๙ แต่ไปตอกทะเบียน แบบจดเถื่อน
แบบนี้มันก็สวมทะเบียน แหง๋ ๆ  กลายเป็นปืนคดี ช้ำแล้วจะไม่ได้คืนด้วยอีก

ถ้าไปพบปืน ที่ตอกทะเบียนผิดสังเกตุ นั่นละ จะต้อง โดนตรวจสอบอย่างละเอียด อาจไม่พอแค่ ป้ายสารโซลเว้น ต้องมีการขูด กันอีก
เหล็ก เมื่อมีการตอก พื้นที่ตรงนั้นจะมี แรงกดที่หนาแน่น กว่ารอบข้าง ถึงจะไสลบไปแล้วจนมองไม่เห็น แต่ความหนาแน่นนั้นยังอยู่

เมื่อทาด้วยสารทำละลาย ก็อาจจะเห็นความแตตกต่าง  ส่วนพวกเนื้อไม้ ใช้รมด้วยไอน้ำ ก็น่าพอจะทราบเลขก่อนหน้าคือประมาณอะไรบ้าง.

อย่างที่บอกไป ท่านที่มีปืน ในยุคนี้ อย่าไปกังวลเลย ครับ  Grin
บันทึกการเข้า

ปะการัง
Full Member
***

คะแนน 16
ออฟไลน์

กระทู้: 133


« ตอบ #20 เมื่อ: กันยายน 01, 2012, 01:04:49 PM »

               จำได้ว่าเคยอ่านเจอตอนเตรียมตัวสอบ  เหตุเกิดในนครบาล สมัยนั้นเป็นกรมตำรวจ (จำเลยที่ 1 ในคดีนี้ )  รถรับส่งพนักงานของบริษัทฯชนคนตาย  ตำรวจยึดรถไปจอดไว้ริมถนนใกล้ ๆ โรงพัก ปรากฎว่ารถบัสของกลางหาย  เปรียบเทียบกับคำถามนี้ได้  ส่วนค่าเสียหายคิดเป็นเงินได้เท่าไร  ต่างคนต่างความคิด ไว้เป็นกรณีศึกษาครับ
 
    คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 21/2540

    จำเลยที่2เป็นสารวัตรใหญ่และจำเลยที่3เป็นพนักงานสอบสวนคนทั้งสองต่างเป็นข้าราชการในสังกัดของกรมตำรวจจำเลยที่1การที่จำเลยที่2และที่3ยึดรถยนต์พิพาทของโจทก์เป็นของกลางเป็นการปฏิบัติหน้าที่อย่างหนึ่งตามระเบียบข้อบังคับและคำสั่งที่ได้รับมอบหมายจากจำเลยที่1และจำเลยที่1มีหน้าที่กำกับดูแลการปฏิบัติงานของจำเลยที่2และที่3ให้เป็นไปตามระเบียบและคำสั่งเพื่อมิให้เกิดความเสียหายเมื่อจำเลยที่2และที่3ยึดรถยนต์พิพาทไว้เป็นของกลางในคดีความผิดต่อพระราชบัญญัติจราจรทางบกซึ่งมีคนตายและได้รับบาดเจ็บในกรณีนี้เป็นการปฏิบัติหน้าที่อย่างหนึ่งและมีฐานะเป็นผู้แทนของจำเลยที่1จำเลยที่2และที่3จึงมีหน้าที่ดูแลรักษาทรัพย์ของกลางเหมือนเช่นวิญญูชนพึงดูแลทรัพย์สินของตนแต่เมื่อจำเลยที่2และที่3ไม่ได้ดูแลรักษารถยนต์พิพาทของกลางตามสมควรเป็นเหตุให้รถยนต์พิพาทสูญหายกรณีจึงเป็นการกระทำละเมิดในฐานะปฏิบัติหน้าที่เป็นผู้แทนของจำเลยที่1ซึ่งเป็นนิติบุคคลตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา76วรรคหนึ่งจำเลยที่1จึงต้องร่วมกับจำเลยที่2และที่3รับผิดชดใช้ค่าสินไหมทดแทนความเสียหายแก่โจทก์ด้วยจะอ้างว่าตนไม่มีอำนาจในการยึดสิ่งของในคดีอาญามาปฏิเสธความรับผิดของตนไม่ได้
บันทึกการเข้า
Justice19
Full Member
***

คะแนน 27
ออฟไลน์

กระทู้: 216



« ตอบ #21 เมื่อ: กันยายน 06, 2012, 02:53:31 PM »

ถ้าปืนเราถูกเรียกไปตรวจแบบกรณีลูก สส ถูกยิงตาย แล้วกลับมาเป็นสภาพสนิมแดงเถือก ทั้งที่ก่อนไปผิวเนี้ยบกริบ เราจะสามารถฟ้องหน่วยงานเรียกไปตรวจได้ไหมครับ

ฟ้องได้ครับ  ไม่มีกฎหมายคุ้มครอง จนท.ตำรวจในเรื่องนี้   แต่จะได้ตามฟ้องหรือเปล่า เป็นอีกเรื่องหนึ่ง

กฎหมายให้อำนาจจนท.ตำรวจในการเรียกเอาอาวุธปืนมาตรวจสอบไว้อย่างไรครับ  ไหว้

ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาครับ  ยาวเกินกว่าจะเอามาเขียนบนนี้

ขอบคุณครับ จะได้ไปพลิกดูสักรอบ  ไหว้


ต้องย้อนกลับไปดูว่าตำรวจมีอำนาจเรียกปืนไปตรวจจากคนซึ่งไม่ใช่ผู้หาว่ากระทำความผิดได้หรือไม่ และอาศัยอำนาจตาม ป.วิ.อาญา มาตราใดก่อน อย่างที่พี่ธำรงถามนั่นแหล่ะครับ  ไหว้
บันทึกการเข้า
สุพินท์ - รักในหลวง
Guns & Games Staff
Hero Member
*****

คะแนน 3539
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 12903



« ตอบ #22 เมื่อ: กันยายน 06, 2012, 07:01:18 PM »

               จำได้ว่าเคยอ่านเจอตอนเตรียมตัวสอบ  เหตุเกิดในนครบาล สมัยนั้นเป็นกรมตำรวจ (จำเลยที่ 1 ในคดีนี้ )  รถรับส่งพนักงานของบริษัทฯชนคนตาย  ตำรวจยึดรถไปจอดไว้ริมถนนใกล้ ๆ โรงพัก ปรากฎว่ารถบัสของกลางหาย  เปรียบเทียบกับคำถามนี้ได้  ส่วนค่าเสียหายคิดเป็นเงินได้เท่าไร  ต่างคนต่างความคิด ไว้เป็นกรณีศึกษาครับ
 
    คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 21/2540

    จำเลยที่2เป็นสารวัตรใหญ่และจำเลยที่3เป็นพนักงานสอบสวนคนทั้งสองต่างเป็นข้าราชการในสังกัดของกรมตำรวจจำเลยที่1การที่จำเลยที่2และที่3ยึดรถยนต์พิพาทของโจทก์เป็นของกลางเป็นการปฏิบัติหน้าที่อย่างหนึ่งตามระเบียบข้อบังคับและคำสั่งที่ได้รับมอบหมายจากจำเลยที่1และจำเลยที่1มีหน้าที่กำกับดูแลการปฏิบัติงานของจำเลยที่2และที่3ให้เป็นไปตามระเบียบและคำสั่งเพื่อมิให้เกิดความเสียหายเมื่อจำเลยที่2และที่3ยึดรถยนต์พิพาทไว้เป็นของกลางในคดีความผิดต่อพระราชบัญญัติจราจรทางบกซึ่งมีคนตายและได้รับบาดเจ็บในกรณีนี้เป็นการปฏิบัติหน้าที่อย่างหนึ่งและมีฐานะเป็นผู้แทนของจำเลยที่1จำเลยที่2และที่3จึงมีหน้าที่ดูแลรักษาทรัพย์ของกลางเหมือนเช่นวิญญูชนพึงดูแลทรัพย์สินของตนแต่เมื่อจำเลยที่2และที่3ไม่ได้ดูแลรักษารถยนต์พิพาทของกลางตามสมควรเป็นเหตุให้รถยนต์พิพาทสูญหายกรณีจึงเป็นการกระทำละเมิดในฐานะปฏิบัติหน้าที่เป็นผู้แทนของจำเลยที่1ซึ่งเป็นนิติบุคคลตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา76วรรคหนึ่งจำเลยที่1จึงต้องร่วมกับจำเลยที่2และที่3รับผิดชดใช้ค่าสินไหมทดแทนความเสียหายแก่โจทก์ด้วยจะอ้างว่าตนไม่มีอำนาจในการยึดสิ่งของในคดีอาญามาปฏิเสธความรับผิดของตนไม่ได้


ปัจจุบันนี้ใช้พระราชบัญญัติ ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539  บวกกับมีศาลปกครอง  แนวทางดำเนินคดีของประชาชนจะง่ายขึ้นมากกว่าตามคำพิพากษาเยอะครับ
บันทึกการเข้า
หน้า: 1 [2]
  พิมพ์  
 
กระโดดไป:  

Powered by MySQL Powered by PHP Powered by SMF 1.1.4 | SMF © 2011, Simple Machines Valid XHTML 1.0! Valid CSS!
หน้านี้ถูกสร้างขึ้นภายในเวลา 0.045 วินาที กับ 21 คำสั่ง