
ลึกเข้าไปอีกประมาณ 1/4" พบหัวกระสุน นัดซ้ายมือ เป็น หัวLRN พลิกเอาท้ายเข้าชน ที่เห็นมีรอยบี้แบน เป็นส่วนปลายแหลมของหัวกระสุนที่ชนวัสดุ แล้วแฉลบพลิกกลับด้าน นัดขวามือ เป็น ใส้ตะกัวของหัว JHP หลุดออกมาจากถ้วยทองแดงเพราะแรงเฉื่อย และตะกั่วมีลักษณะบี้แบน


ลักษณะของหัวกระสุนหลังจากเจาะเข้าวัสดุแล้ว ทั้งสองชนิด เจาะเข้าลึกเท่ากัน ประมาณ 5 1/2"
หัวกระสุนแบบ JHP หลังจากเจาะเข้าวัสดุที่มีความชุ่มน้ำ จะเจาะได้ระยะตื้น ประมาณ 1- 1 1/2" แล้วค่อยบานออก สร้างโพรงบาดแผลฉกรรณ์ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กะวัสดที่รองรับกระสุนด้วย ถ้าแห้ง ก็จะมีโพรงบาดแผลเล็ก ถ้าแข็งมาก หัวกระจะแตกเป็นสะเก็ดชิ้นเล็ก หรือถ้าเจาะเข้าวัสดุเป็นเยื่อชุ่มน้ำ เมื่อสิ้นสุดแรง ก็มีแรกเฉื่อยทำให้หัวกระสุนแตกออกเป็นชิ้นเล็ก
หัวกระสุนแบบ LRN มีแรงเจาะทะลวงได้ลึกในระยะแรก พอเจอแรงต้านของวัสุดที่มีมากขึ้น จะทำให้หัวแฉลบ และผลจากการแฉลบทำให้เกิดแผลกจากรอยตีคว้าน หลังจากนั้นแนวเจาะก็จะไม่ตรงกะแนวเดิม