oil
ชาว อวป.
Hero Member
  
คะแนน 187
ออฟไลน์
กระทู้: 4146
ใครหนอ โกงข้าว ล้มเจ้า เผาเมือง
|
 |
« เมื่อ: กรกฎาคม 11, 2013, 10:09:07 AM » |
|
ก่อสร้างบ้านพักอาศัย คสล.สองชั้น พื้นที่ใช้สอยประมาณ 400 ตรม. ลงเข็ม21เมตร แถวรามอินทรา ควรใช้เป็นเข็มเจาะ หรือเข็มตอกดีครับ อยากทราบความแตกต่างการรับโหลดกับค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน ขอบคุณท่านผู้รู้ที่กรุณาให้คำแนะนำล่วงหน้า
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
Thailand must not welcome f..cking bag packer, get lost
|
|
|
soveat ชุมไพร
มือสังหารคันคากหมุ่น พรานปลาวัด พราน28k สมช. เลขที่ 1475
ชาว อวป.
Hero Member
  
คะแนน 3429
ออฟไลน์
เพศ: 
กระทู้: 30132
เลือดกรุ๊ป โอละนออออออออออออ
เว็บไซต์
|
 |
« ตอบ #1 เมื่อ: กรกฎาคม 11, 2013, 10:14:48 AM » |
|
เข็มเจาะไม่รบกวนอาคารข้างเคียงที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายได้ ราคาสูงกว่า เข็มตอกถูกกว่าแต่มีโอกาสทำให้อาคารข้างเคียงเสียหายได้ครับ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
จะปิดทอง หลังองค์ พระปฏิมา
|
|
|
oil
ชาว อวป.
Hero Member
  
คะแนน 187
ออฟไลน์
กระทู้: 4146
ใครหนอ โกงข้าว ล้มเจ้า เผาเมือง
|
 |
« ตอบ #2 เมื่อ: กรกฎาคม 11, 2013, 10:27:15 AM » |
|
ที่ดินข้างเคียงไม่มีสิ่งปลูกสร้าง ถ้าตามที่ท่านแนะนำมาน่าจะเลือกเข็มตอก ขอบคุณครับ ท่านใดมีคำแนะนำเพิ่มเติม อนุเคราะห์ด้วยครับ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
Thailand must not welcome f..cking bag packer, get lost
|
|
|
มืด-รักในหลวง
ชาว อวป.
Full Member
  
คะแนน 66
ออฟไลน์
กระทู้: 258
|
 |
« ตอบ #3 เมื่อ: กรกฎาคม 11, 2013, 10:35:35 AM » |
|
เรื่องการรับ load มันจบมาตั้งแต่การออกแบบแล้วครับ เราถึงจะมาเลือกชนิดของเสาเข็ม ถ้าพื้นที่ข้างเคียงไม่มีสิ่งปลูกสร้างหรืออาคาร ใช้เข็มตอกจะถูกกว่าเข็มเจาะ แต่ถ้าเสาใกล้รั้วมากๆหรือมีสิ่งปลูกสร้างหรืออาคารติดกันแนะนำเป็นเข็มเจาะครับ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
naisomchai
บุคคลทั่วไป
|
 |
« ตอบ #4 เมื่อ: กรกฎาคม 11, 2013, 11:18:37 AM » |
|
เวลาขออนุญาตก่อสร้าง เขาจะเขียนมาเป็นแบบเจาะหรือตอกมาด้วยครับ... หากอนุญาตแบบเจาะแต่เรามาตอกฯ, ต้องระวังไม่ให้มือดีปากสว่างแอบเอาไปฟ้องเทศบาลด้วยครับ...
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
soveat ชุมไพร
มือสังหารคันคากหมุ่น พรานปลาวัด พราน28k สมช. เลขที่ 1475
ชาว อวป.
Hero Member
  
คะแนน 3429
ออฟไลน์
เพศ: 
กระทู้: 30132
เลือดกรุ๊ป โอละนออออออออออออ
เว็บไซต์
|
 |
« ตอบ #5 เมื่อ: กรกฎาคม 11, 2013, 11:25:46 AM » |
|
ไม่มีบอกครับอาจารย์สมชาย เราแค่ทำตามแบบครับ โดยส่วนมากแล้ว อาคารพักอาศัย ค.ส.ล.สองชั้นผู้ออกแบบจะคำนวนออกมาและกำหนดกว้างๆไว้ว่าให้ใช้ได้ทั้งเข็มตอกหรือเจาะครับ เพราะการลงเสาเข็มมีหลายวิธีครับ เป็นรายละเอียดในการก่อสร้างเฉยๆ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
จะปิดทอง หลังองค์ พระปฏิมา
|
|
|
ห ม า ย จั น ท ร์
ชาว อวป.
Hero Member
  
คะแนน 563
ออฟไลน์
เพศ: 
กระทู้: 6222
|
 |
« ตอบ #6 เมื่อ: กรกฎาคม 11, 2013, 11:28:05 AM » |
|
วิศวกรจะเลือกใช้เข็มเมื่อทราบ โหลดต่อฐานรากสูงสุดกี่ตัน การเข้าถึงพื้นที่ทำเข็ม ถ้าระบุ เข็ม 21-22 เลือกเข็มตอกต้องต่อเข็ม รถส่งเข็มเข้าจากถนนใหญ่มาถึงบริเวณได้หรือไม่ อื่น ๆ ตาม โพสก่อนหน้าครับ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
naisomchai
บุคคลทั่วไป
|
 |
« ตอบ #7 เมื่อ: กรกฎาคม 11, 2013, 11:33:47 AM » |
|
ไม่มีบอกครับอาจารย์สมชาย เราแค่ทำตามแบบครับ โดยส่วนมากแล้ว อาคารพักอาศัย ค.ส.ล.สองชั้นผู้ออกแบบจะคำนวนออกมาและกำหนดกว้างๆไว้ว่าให้ใช้ได้ทั้งเข็มตอกหรือเจาะครับ เพราะการลงเสาเข็มมีหลายวิธีครับ เป็นรายละเอียดในการก่อสร้างเฉยๆ
บ้านนายสมชายเป็นตรายางปั้มมาครับ... ผู้รับเหมามันตอก แต่นายสมชายท้วงมัน มันเลยยอมเปลี่ยนเป็นเจาะ(แต่โกรธมาก), แล้วนี่ก็เป็นสาเหตุหนึ่งสะสมจนในที่สุดมันทิ้งงานครับ... นายสมชายต้องลากมันขึ้นศาล มันแพ้ 2 ศาลล่างกับอุทธรณ์... แล้วมันก็ลากมั่งฯ ขึ้นฏีกาแน่ะ, ป่านนี้ผ่านมา 7 ปีแล้วยังเงียบเลยครับ... เฮ้อ...
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
soveat ชุมไพร
มือสังหารคันคากหมุ่น พรานปลาวัด พราน28k สมช. เลขที่ 1475
ชาว อวป.
Hero Member
  
คะแนน 3429
ออฟไลน์
เพศ: 
กระทู้: 30132
เลือดกรุ๊ป โอละนออออออออออออ
เว็บไซต์
|
 |
« ตอบ #8 เมื่อ: กรกฎาคม 11, 2013, 11:37:50 AM » |
|
ตัวนั้นเป็นสัญญาการก่อสร้างครับ แต่ขั้นตอนการขออนุญาตกับพนักงานเจ้าหน้าที่ ตาม พรบ ควบคุมอาคาร2522 ไมได้ระบุครับ 
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
จะปิดทอง หลังองค์ พระปฏิมา
|
|
|
oil
ชาว อวป.
Hero Member
  
คะแนน 187
ออฟไลน์
กระทู้: 4146
ใครหนอ โกงข้าว ล้มเจ้า เผาเมือง
|
 |
« ตอบ #9 เมื่อ: กรกฎาคม 11, 2013, 11:37:57 AM » |
|
ขอบคุณทุกท่านครับ ไซท์งานกว้างขวางไม่มีข้อจำกัดใด ทั้งถนน ทางเข้า รอบข้าง แบบขออนุญาตแล้ว ไม่ระบุรายละเอียดชนิดเข็มหรือความลึก ระบุเพียงโหลด500กก./ตรม. เนื่องจากเข็มตอกต้องมีการเชื่อมต่อระยะ12เมตร และการตอกมีความเสี่ยงแตกหักได้หากไม่ระวัง รวมทั้งต้องนับโบลเคาท์ด้วย ส่วนเข็มเจาะวัดความลึกได้แน่นอนจนกว่าจะพบระดับดินดาน ไม่มีรอยต่อ แต่ต้องระวังเรื่องคุณภาพของปูน เข็มเจาะเองไม่มีการพรีเทนไซล์ ดึงเหล็กเส้นแกนเสาเหมือน เสาเข็มตอก ผมจึงอยากได้คำแนะนำทางเทคนิคเกี่ยวกับความแข็งแรงทนทานในระยะยาวครับ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
Thailand must not welcome f..cking bag packer, get lost
|
|
|
naisomchai
บุคคลทั่วไป
|
 |
« ตอบ #10 เมื่อ: กรกฎาคม 11, 2013, 11:45:58 AM » |
|
ตัวนั้นเป็นสัญญาการก่อสร้างครับ แต่ขั้นตอนการขออนุญาตกับพนักงานเจ้าหน้าที่ ตาม พรบ ควบคุมอาคาร2522 ไมได้ระบุครับ  เทศบาล อ.เมืองนนทบุรีฯ ปั๊มเป็นตรายางหมึกแดงลงในแผ่นใบอนุญาตก่อสร้าง กับปั๊มลงในแบบก่อสร้างที่แนบมาด้วยเลยครับ...
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
soveat ชุมไพร
มือสังหารคันคากหมุ่น พรานปลาวัด พราน28k สมช. เลขที่ 1475
ชาว อวป.
Hero Member
  
คะแนน 3429
ออฟไลน์
เพศ: 
กระทู้: 30132
เลือดกรุ๊ป โอละนออออออออออออ
เว็บไซต์
|
 |
« ตอบ #11 เมื่อ: กรกฎาคม 11, 2013, 12:59:03 PM » |
|
ขอบคุณทุกท่านครับ ไซท์งานกว้างขวางไม่มีข้อจำกัดใด ทั้งถนน ทางเข้า รอบข้าง แบบขออนุญาตแล้ว ไม่ระบุรายละเอียดชนิดเข็มหรือความลึก ระบุเพียงโหลด500กก./ตรม. เนื่องจากเข็มตอกต้องมีการเชื่อมต่อระยะ12เมตร และการตอกมีความเสี่ยงแตกหักได้หากไม่ระวัง รวมทั้งต้องนับโบลเคาท์ด้วย ส่วนเข็มเจาะวัดความลึกได้แน่นอนจนกว่าจะพบระดับดินดาน ไม่มีรอยต่อ แต่ต้องระวังเรื่องคุณภาพของปูน เข็มเจาะเองไม่มีการพรีเทนไซล์ ดึงเหล็กเส้นแกนเสาเหมือน เสาเข็มตอก ผมจึงอยากได้คำแนะนำทางเทคนิคเกี่ยวกับความแข็งแรงทนทานในระยะยาวครับ
กรุงเทพเป็นพื้นที่ดินอ่อนมากเข็มต้องตอกที่ระยะ21 เมตรเป็นอย่างต่ำครับ ปานนั้นก็ยังพบการทรุดตัว ใช้เข็มเจาะดีกว่า ขอดูรายละเอียดความลึกของเข็มในพื้นที่ได้ที่ สนง เขต ครับ หากไม่มีปัญหาเรื่องงบประมาณแนะนำเข็มเจาะครับ เพราะพวกตอกเข็มเขี้ยวๆตอนับโบเค้าท์มันมีเทคนิคครับตอกยังไงให้เข็มไม่จม ตัวนั้นเป็นสัญญาการก่อสร้างครับ แต่ขั้นตอนการขออนุญาตกับพนักงานเจ้าหน้าที่ ตาม พรบ ควบคุมอาคาร2522 ไมได้ระบุครับ  เทศบาล อ.เมืองนนทบุรีฯ ปั๊มเป็นตรายางหมึกแดงลงในแผ่นใบอนุญาตก่อสร้าง กับปั๊มลงในแบบก่อสร้างที่แนบมาด้วยเลยครับ... ต้องปั๊มครับ ในใบอนุญาต อ1 ต้องปั๊มตราหน่วยงานทุกแผ่น อ6 ก็ต้องปั๊มครับ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
จะปิดทอง หลังองค์ พระปฏิมา
|
|
|
wut_highways
สถานการณ์สร้างวีรบุรุษ
ชาว อวป.
Hero Member
  
คะแนน 797
ออฟไลน์
เพศ: 
กระทู้: 4775
|
 |
« ตอบ #12 เมื่อ: กรกฎาคม 11, 2013, 01:19:40 PM » |
|
ขอบคุณทุกท่านครับ ไซท์งานกว้างขวางไม่มีข้อจำกัดใด ทั้งถนน ทางเข้า รอบข้าง แบบขออนุญาตแล้ว ไม่ระบุรายละเอียดชนิดเข็มหรือความลึก ระบุเพียงโหลด500กก./ตรม. เนื่องจากเข็มตอกต้องมีการเชื่อมต่อระยะ12เมตร และการตอกมีความเสี่ยงแตกหักได้หากไม่ระวัง รวมทั้งต้องนับโบลเคาท์ด้วย ส่วนเข็มเจาะวัดความลึกได้แน่นอนจนกว่าจะพบระดับดินดาน ไม่มีรอยต่อ แต่ต้องระวังเรื่องคุณภาพของปูน เข็มเจาะเองไม่มีการพรีเทนไซล์ ดึงเหล็กเส้นแกนเสาเหมือน เสาเข็มตอก ผมจึงอยากได้คำแนะนำทางเทคนิคเกี่ยวกับความแข็งแรงทนทานในระยะยาวครับ
safe load 500 กก./ตร.ม. หรือครับ แปลก ๆ นะครับ ปกติเวลาดีไซน์ฐานราก วิศวกรต้องรู้คุณสมบัติของดินบริเวณที่ก่อสร้างด้วยครับเพื่อใช้ในการออกแบบ เช่นดินแถบภาคอีสานมีความสามารถในการรับน้ำหนักบรรทุก 10 ตัน/ตร.ม. หากเป็นอาคารชั้นเดียวซึ่งน้ำหันกบรรทุกของเสาแต่ละต้นไม่มากก็ใช้ฐานรากแผ่เพื่อความประหยัดได้ กรณีต้องการใช้เข็มวิศวกรก็จะระบุความสามรถในการรับน้ำหนักบรรทุกของเสาเข็มแต่ละต้นเพื่อกำหนดหน้าตัดของเสาเข็มครับ และเลือกใช้เข็มกลุ่ม หรือเดี่ยว อีกที หากในแบบระบุมาเป็นเข็มกลุ่ม ก็จะกระจายการรับน้ำหนักไปทุกต้นครับ เรื่องของเข็มตอกมีข้อจำกัดในกรณีความลึกมาก ๆ จำเป็นต้องมีการต่อเสาเข็มอันนี้ถือเป็นข้อด้อยที่อาจส่งผลกับการรับน้ำหนัก เรื่องที่สองคือการตรวจสอบ โบลวเคาน์ ควรจะมีช่างควบคุมงานตรวจสอบให้ดีครับ เพราะผู้รับเหมาตอกเข็มส่วนใหญ่ต้องการงานเร็วบางครั้งอาจทำให้ได้งานที่ไม่ดีครับมีผลกับการทรุดตัวของโครงสร้างที่ไม่เท่ากัน กรณีที่ดินแถบรามอินทรา ในส่วนตัวผมแนะนำให้ใช้เข็มเจาะครับ แพงกว่าแต่งานคุณภาพดีกว่า ควบคุมคุณภาพง่ายกว่าครับ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
dignitua-รักในหลวง
เราจะสู้เพื่อในหลวง
ชาว อวป.
Hero Member
  
คะแนน 1414
ออฟไลน์
เพศ: 
กระทู้: 8341
จะมีพรุ่งนี้ ได้อีกกี่วัน...
|
 |
« ตอบ #13 เมื่อ: กรกฎาคม 11, 2013, 01:26:26 PM » |
|
ขอบคุณทุกท่านครับ ไซท์งานกว้างขวางไม่มีข้อจำกัดใด ทั้งถนน ทางเข้า รอบข้าง แบบขออนุญาตแล้ว ไม่ระบุรายละเอียดชนิดเข็มหรือความลึก ระบุเพียงโหลด500กก./ตรม. เนื่องจากเข็มตอกต้องมีการเชื่อมต่อระยะ12เมตร และการตอกมีความเสี่ยงแตกหักได้หากไม่ระวัง รวมทั้งต้องนับโบลเคาท์ด้วย ส่วนเข็มเจาะวัดความลึกได้แน่นอนจนกว่าจะพบระดับดินดาน ไม่มีรอยต่อ แต่ต้องระวังเรื่องคุณภาพของปูน เข็มเจาะเองไม่มีการพรีเทนไซล์ ดึงเหล็กเส้นแกนเสาเหมือน เสาเข็มตอก ผมจึงอยากได้คำแนะนำทางเทคนิคเกี่ยวกับความแข็งแรงทนทานในระยะยาวครับ
safe load 500 กก./ตร.ม. หรือครับ แปลก ๆ นะครับ ปกติเวลาดีไซน์ฐานราก วิศวกรต้องรู้คุณสมบัติของดินบริเวณที่ก่อสร้างด้วยครับเพื่อใช้ในการออกแบบ เช่นดินแถบภาคอีสานมีความสามารถในการรับน้ำหนักบรรทุก 10 ตัน/ตร.ม. หากเป็นอาคารชั้นเดียวซึ่งน้ำหันกบรรทุกของเสาแต่ละต้นไม่มากก็ใช้ฐานรากแผ่เพื่อความประหยัดได้ กรณีต้องการใช้เข็มวิศวกรก็จะระบุความสามรถในการรับน้ำหนักบรรทุกของเสาเข็มแต่ละต้นเพื่อกำหนดหน้าตัดของเสาเข็มครับ และเลือกใช้เข็มกลุ่ม หรือเดี่ยว อีกที หากในแบบระบุมาเป็นเข็มกลุ่ม ก็จะกระจายการรับน้ำหนักไปทุกต้นครับ เรื่องของเข็มตอกมีข้อจำกัดในกรณีความลึกมาก ๆ จำเป็นต้องมีการต่อเสาเข็มอันนี้ถือเป็นข้อด้อยที่อาจส่งผลกับการรับน้ำหนัก เรื่องที่สองคือการตรวจสอบ โบลวเคาน์ ควรจะมีช่างควบคุมงานตรวจสอบให้ดีครับ เพราะผู้รับเหมาตอกเข็มส่วนใหญ่ต้องการงานเร็วบางครั้งอาจทำให้ได้งานที่ไม่ดีครับมีผลกับการทรุดตัวของโครงสร้างที่ไม่เท่ากัน กรณีที่ดินแถบรามอินทรา ในส่วนตัวผมแนะนำให้ใช้เข็มเจาะครับ แพงกว่าแต่งานคุณภาพดีกว่า ควบคุมคุณภาพง่ายกว่าครับ 500 Kg./ตรม. น่าจะเป็นพื้นบ้านมากกว่า แต่บ้านโดยทั่วไป(ส่วนใหญ่) เซฟโหลดจะอยู่ที่ 300 Kg./ตรม. ดังนั้นถ้าซื้ิอบ้านทั่วไปควรหลีกเลี่ยงการกองข้าวสารซ้อนกันเกิน 3 กระสอบ มิฉะนั้นพื้นบ้านอาจพังได้ เห็นส่วนใหญ่ตามอาคารพาณิชย์ครับ...
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
naisomchai
บุคคลทั่วไป
|
 |
« ตอบ #14 เมื่อ: กรกฎาคม 11, 2013, 01:27:13 PM » |
|
ต้องปั๊มครับ ในใบอนุญาต อ1 ต้องปั๊มตราหน่วยงานทุกแผ่น อ6 ก็ต้องปั๊มครับ
หมายถึงในใบอนุญาตก่อสร้างปั๊มมาเลยครับ ว่าให้ใช้เสาเข็มเจาะ ตามรูปข้างล่างครับ... 
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
|