ขนมจีนเส้นใหญ่
Full Member
 
คะแนน 19
ออฟไลน์
เพศ: 
กระทู้: 275
เว็บไซต์
|
 |
« ตอบ #90 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 19, 2008, 04:07:23 PM » |
|
ม้าตัวนี้วิ่งได้ไม่กี่ปีเอง.........ครับ 
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
ปืนจะประเสริฐดังมีมนุยษ์ที่เป็นเลิศอยู่หลังปืน
|
|
|
izoze
ปืนเก่า...ตัวแทนของพ่อ
ชาว อวป.
Full Member
  
คะแนน 8
ออฟไลน์
เพศ: 
กระทู้: 104
วันนี้คุณทำให้พ่อ-แม่ ยิ้มแล้วหรือยัง
|
 |
« ตอบ #91 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 19, 2008, 04:35:54 PM » |
|
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
สีอำพัน-รักในหลวง
ชาว อวป.
Hero Member
  
คะแนน 258
ออฟไลน์
เพศ: 
กระทู้: 4432
|
 |
« ตอบ #92 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 19, 2008, 06:03:07 PM » |
|
กำลังพยายามต้อนม้าสองตัวเข้าคอกอยู่ครับ ตัวนี้โทรไปหาทุกวัน อีกตัวสวยกว่านี้แต่เจ้าของหวงมากไม่ยอมให้ถ่ายรูปครับผมไปหาเช้าเย็น หวังว่า คุณตาเจ้าของม้า จะใจอ่อนในเร็ววันครับ  
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
อันวันใดไม่สำคัญเท่าวันนี้ เป็นวันที่สำคัญกว่าวันไหน อันวันนี้สำคัญกว่าวันใด วันไหนไหนไม่สำคัญเท่าวันนี้
|
|
|
bigonesiam
เจ็บแล้วจำเป็นคน เจ็บแล้วทนเป็นควาย
Full Member
 
คะแนน 5
ออฟไลน์
เพศ: 
กระทู้: 179
|
 |
« ตอบ #93 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 19, 2008, 09:01:34 PM » |
|
ม้าตัวนี้วิ่งได้ไม่กี่ปีเอง.........ครับ  อยากได้แบบนี้จังครับอยากเลี้ยงม้าบ้างจังครับ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
ผิดครั้งแรกเป็นคูร ผิดครั้งที่สองเป็นควาย ศักดิ์ศรี สำคัญยิ่งกว่าชีวิต และสิ้นสุดไปพร้อมกับชีวิตด้วยเช่นกัน
|
|
|
Gun_drums
ชาว อวป.
Full Member
  
คะแนน 12
ออฟไลน์
เพศ: 
กระทู้: 172
นสิยา โลกวฑฺฒโน ==> ไม่ควรเป็นคนรกโลก
|
 |
« ตอบ #94 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 19, 2008, 09:38:33 PM » |
|
ฝากม้าหมุน สักตัวครับ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
นสิยา โลก วทฺฒโน ==> ไม่ควรเป็นคนรกโลก
|
|
|
izoze
ปืนเก่า...ตัวแทนของพ่อ
ชาว อวป.
Full Member
  
คะแนน 8
ออฟไลน์
เพศ: 
กระทู้: 104
วันนี้คุณทำให้พ่อ-แม่ ยิ้มแล้วหรือยัง
|
 |
« ตอบ #95 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 20, 2008, 01:46:53 AM » |
|
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
ชะโด
Newbie
คะแนน 0
ออฟไลน์
กระทู้: 1
|
 |
« ตอบ #96 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 20, 2008, 04:47:53 PM » |
|
ขออีกๆ ๆ ๆ ๆ ๆ ๆ ประวัติ 1911 บ้างก็ดีครับ อยากเห็น 1911 แบบ บ้านๆบ้างคร้าบบบบบ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
ป๊อกแมน
ชาว อวป.
Hero Member
  
คะแนน 156
ออฟไลน์
เพศ: 
กระทู้: 2095
เว็บไซต์
|
 |
« ตอบ #97 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 20, 2008, 06:19:58 PM » |
|
ที่นอนเกยกันอยู่นี้ มีตัวหนึ่งตื่นก่อนแล้วก็โดด หนีข้ามไม้กันคอกไปแล้ว ครับ.  สวยทุกกระบอกเลยครับ ไม่ทราบว่านาฬิกาปลุกที่ปลุกม้านี่ ใช่ Daytona รึเปล่าครับ \(^0^)/
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
Sundance
ชาว อวป.
Hero Member
  
คะแนน 123
ออฟไลน์
เพศ: 
กระทู้: 2609
|
 |
« ตอบ #98 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 20, 2008, 07:03:05 PM » |
|
เอ่ยชื่อโคลท์ 1911A1 ขึ้นมา ก็จะได้รับปฎิกริยาตอบรับสองประเภทแรกคือดูหมิ่นไม่ยอมรับ อย่างที่สองนั้นด้วยความรักความนิยมชมชอบด้วยใจจริง ผู้เขียน (Charles Smith) อยุ่ในประเภทหลัง ผมใช้ปืนนี้มาตั้งแต่เป็นทหารม้าเล็กๆและก็ยังนิยมมันอยู่ในปัจจุบัน ในมือผู้ชำนาญมันเป็นปืนกึ่งอัตโนมัติที่คนนิยมมาก
1911 ประจำการในกองทัพอเมริกันและกองทัพชาติอื่นๆมานานหลายปี แล้วก็ถูกปลด ปืนเบเรตตา 9 มม. เข้ามาแทนด้วยการมีคันนิรภัยซ้ายขวา และกระสุนลูกดก แต่ .45 ก็ยังอยู่ในหัวใจของนักยิงด่อสู้ทั้งหลาย
ระหว่างสงครามกับเสปญ อเมริกาเห็นว่าอำนาจการหยุดยั้งของกระสุนรีวอลเวอร์ขนาด .38 นั้นไม่พอ กรมสรรพาวุธที่คลังแฟรงเฟิตจึงทำกระสุนขนาด .45 ออกมาใช้กับทั้งปืนรีวอลเวอร์และปืนกึ่งอัตโนมัติ โคลท์ออกแบบรีวอลเวอร์ใหม่มาใช้กับกระสุน .45 โคลท์ ทำออกมาไม่กี่กระบอก กองทัพอยากได้ปืนกึ่งอัตโนมัติมากกว่า
โคลท์เลือกเอากระสุน .45 กึ่งอัตโนมัติ เพราะคล้ายคลึงกับกระสุนทางพาณิชย์ที่ทำมาใช้กับปืน 1905 ความยาวกระสุนไม่เท่ากัน แต่ในทีสุด กระสุนที่ออกมาก็เหมือนแบบของคอลท์มากกว่าของสรรพาวุธ
ตอนนี้บราวนิงกลับไปทำงานให้วินเชสเตอร์ในการออกแบบกระสุน .45 อัตโนมัติสำหรับ 1911
การทดสอบปี 1907 กองทัพสนใจมากกับ บราวนิง-คอลท์ สรรพาวุธได้ลองปืนบรรจุเองหลายชนิด รอธ (Roth) 9 มม กลิสเซนตี (Glisenti) และอีกหลายบริษัทในขนาด .45 วันที่ 28 ธันวาคม 1906 ผู้บัญชาการทหารบกสั่งตั้งกรรมการทดสอบ มีทหารจากกองทัพห้านาย ตัวแทนทหารทุกหน่วยไปร่วมการทดสอบที่สปริงฟีลด์ (Springfield) กรรมการรับผิดชอบจัดระบบการทดสอบหาปืนที่ออกแบบดีทีสุด ทั้งอัตโนมัติและรีวอลเวอร์ ที่เหมาะสมที่สุดกับความต้องการของกองทัพ
ผู้การสรรพาวุธ วางสเปคลงไปว่าปืนที่มาทดสอบต้องใช้กระสุนขนาด .45 หัวกระสุน 230 เกรนเท่านั้น รอธ (Roth) กลิสเซนติ (Glisenti) ก็หลุดออกไปทันที
คณะกรรมการประชุมกันครั้งแรกในวันที่ 15 มกราคม 1907 ที่คลังอาวุธสปริงฟีลด์ ปืนที่เข้าทดสอบมีขนาด .45 ทั้งหมด 1. โคลท์ (Colt) ออโตเมติค 2. ลูเกอร์ (Luger) ออโตเมติค 3. ซาเวจ (Savage) ออโตเมติค 4. น็อบเบิล (Knoble) ออโตเมติค 5. เบอร์กแมนออโตเมติค 6. ไวท์-เมอริล (White-Merril) 7. โคลท์รีวอลเวอร์ดับเบิลแอคชั่น 8. สมิทธ์แอนด์เวสสันรีวอลเวอร์ ดับเบิลแอคชั่น 9. เวบลีย์-ฟอสเบรี่ (Webley-Fosbery) รีวอลเวอร์ออโตเมติค ขึ้นนกทีเดียวตอนแรก จากนั้น นัดต่อไป นกขึ้นมาเองเมื่อยิงออกไป) โคลท์ส่งปืนแบบ 1906 ขนาด .45 มาทดสอบ ไม่มีคันนิรภัยที่ด้าม (Grip Safety) ไม่มีเครื่องหมายบอกกระสุน ลูเกอร์ส่งแบบ 1906 ขนาด 7.65 Parabellum ในขนาด .45 มีคันนิรภัยที่ด้าม ผลิตโดยบริษัท D.W.M. (เมาเซอร์) ซาเวจส่งปืนขนาด .45 ที่มีอยู่แล้ว เบิร์กแมนลอกแบบ เบิร์กแมนเบย์ยาร์ด 9 มม. เข้ามาในขนาด .45 นอบเบิลส่งมา 2 แบบ ซิงเกิลแอคชั่นและดับเบิลแอคชั่น
คณะกรรมการตรวจสอบวางแผนทดสอบไว้ดังนี้ (ก) เวลาที่ใช้ในการถอดและประกอบ จำนวนชิ้นส่วน และเครื่องมือที่ต้องใช้ในการนี้ (ข) สอบความเร็วกระสุน ความแม่นยำ อำนาจการทะลุทะลวง ความแม่นยำในการยิงเร็วรัวถี่ ความทนทานในการใช้งาน ยิง 500 นัด มีพักให้ปืนเย็นทุกๆ 50 นัด ใช้ดินขับชนิดเบาและชนิด แรง (ค) ทดสอบการขึ้นสนิม และผลของฝุ่นละออง
การทดสอบหนักหนาสาหัสสากรรจ์กับปืน โดยเฉพาะเรื่องสนิมและฝุ่น ไม่มีปืนกระบอกใดผ่านอย่างเป็นที่พอใจ น็อบเบิลทั้งสองกระบอกและเบิร์กแมนถูกคัดออก มีรายงานออกมาว่าน็อบเบิล ผลิตออกมาหยาบๆ ไม่สามารถทำงานได้เรียบร้อย สำหรับเบิร์กแมน ได้ยิงไป 20 นัด เพื่อดูการทำงาน แต่นกสับไม่แตก ก็หยุดทดสอบ
ไวท์-เมอริล ยิงไป 11 นัด รายงานออกมาว่าเป็นปืนขั้นทดลอง ใช้ไม่ได้ คัดออกไป ได้รับคำชมเชยเรื่องคันบรรจุกระสุนด้วยมือที่กำลังถือปืนอยู่ได้ แต่ด้านปฎิบัติแล้วไม่เป็นที่พอใจ
ปืนรีวอลเวอร์เวบลีย์-ฟอสเบรีผ่านการทดสอบ แต่คณะกรรมการตัดทิ้งไป ก็เหลือโคลท์ ซาเวจ ลูเกอร์ และรีวอลเวอร์ดับเบิลแอคชั่นอีกสองกระบอก ( โคลท์และสมิทธ์แอนด์เวสสัน)
คณะกรรมการเขียนรายงานผลการทดสอบอย่างละเอียดในเดือนเมษายน 1907 และให้คำแนะนำหลายข้อ
อันดับแรกคือสเปคสำหรับทหารม้า ขนาด .45 หัวกระสุน 230 เกรน ความเร็วต้น 800 ฟุตต่อวินาฑี กลไกทนทาน มีคันบอกว่าบรรจุลูกอยู่โดยอัตโนมัติ มีกลไกอัตโนมัติให้ทราบว่ากระสุนหมด ปลอกดีดขึ้นบน ชุดลั่นไกต้องแน่นอนใช้ได้ ปุ่มปลดซองกระสุนต้องทำได้ด้วยมือที่กำลังถือปืน น้ำหนักและรูปร่างเหมาะมือ เป็นอาวุธใช้ในระยะประชิด ไม่ไช่แบบปืนยาวลำกล้องสั้นแบบคาร์บีน
รายงานได้กล่าวถึงจุดเด่นและจุดด้อยของปืนกึ่งอัตโนมัติและรีวอลเวอร์แบบดับเบิลแอคชั่น
จุดเด่นของปืนกึ่งอัตโนมัติ : 1. แรงสบัดกระแทกน้อยกว่า ยิงแม่นกว่า โอกาสเกิดความเกร็งลดลง 2. บรรจุกระสุนใหม่ง่าย โดยเฉพาะในอากาศหนาวเย็น หรือระหว่างอยู่บนหลังม้า 3. กระสุนบรรจุได้มากกว่าปืนรีวอลเวอร์
ปืนโคลท์ลองยิงไป 959 นัด ซาเวจ 913 นัด ลูเกอร์ 1,022 นัด ลูเกอร์ลองยิงมากกว่าด้วยคำขอร้องของผู้ประดิษฐ์ซึ่งมาดูการทดสอบด้วย นอกจากนั้นยังขอให้ใช้กระสุนพิเศษของตนที่เอามา นอกเหนือจากกระสุนของสรรพาวุธแฟรงค์ฟอร์ต ลูกปืนลูเกอร์นี้มีความเร็วค่อนข้างต่ำ
โคลท์ได้คะแนนนำสูงสุด ขัดข้อง 2 ครั้ง ด้าน 1 นัด ขัดลำ 17 นัด จากทั้งหมด 959 นัด ลูเกอร์มาที่สอง ขัดข้อง 12 ครั้ง ด้าน 4 ขัดลำ 31 จาก 1,022 นัด ซาเวจมารั้งท้าย ขัดข้อง 18 ด้าน 24 ขัดลำ 9 จาก 913 นัด ทั้งสามกระบอกไม่มีใครผ่านการทดสอบการขึ้นสนิมและฝุ่นละออง
กรรมมาธิการออกรายงานค่อนข้างยาวเดือนพฤษภาคม จัดให้มีการทดสอบเพิ่มเติมสำหรับคอลท์และซาเวจ คณะกรรมาธิการชอบความกระทัดรัดของคอลท์ ความปราณีต พกพาได้สบาย ไม่ยาว กรรมาธิการไม่ทดสอบลูเกอร์อีก เพราะชุดลั่นไกเชื่อไม่ได้ แม้ว่ากับกระสุนของลูเกอร์เองก็ตาม......
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
Sundance
ชาว อวป.
Hero Member
  
คะแนน 123
ออฟไลน์
เพศ: 
กระทู้: 2609
|
 |
« ตอบ #99 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 20, 2008, 07:05:32 PM » |
|
เสนาธิการเห็นตามกรรมาธิการ สั่งซื้อโคลท์และซาเวจอย่างละ 200 กระบอกไปประจำการกองทหารม้า 3 หน่วย ซาเวจทำปืนไม่ทัน เสนาธิการจึงหันไปหาลูเกอร์ รอกันอีกพักหนึ่ง ซาเวจจึงผลิตปืนของตนออกมาได้
ไม่ช้าก็พบว่าทั้งโคลท์และซาเวจไม่เป็นที่พึงพอใจเต็มพิกัด แต่เนื่องจากโคลท์ ดูดีกว่าซาเวจ ทางการจึงขอให้โคลท์แก้ไขออกแบบใหม่ตามคำแนะนำของทางการในใบรายงาน
จอห์น บราวนิง จัดการออกแบบโคลท์ใหม่ คือแบบ 1910 เมื่อผ่านทดสอบภาคสนาม ทางการก็รับเข้าประจำการ ให้ชื่อว่า " 1911 ยูเอสอาร์มี่ .45"
ปืน 1911 กึ่งอัตโนมัติ นี้ บรรจุกระสุน 7 นัด ลำกล้อง 5 นิ้ว หนัก 37 ออนซ์ รุ่นแรกๆ นกสั้น แต่ระหว่างสงครามก็ทำยาวขึ้นเพื่อความสดวกในการขึ้นนก
ในปี 1913 จอห์น บราวนิง ออกแบบปืนให้ทำงานง่ายขึ้น ลดชิ้นส่วนให้น้อยลง โคลท์ผลิต 1911 ไม่กี่กระบอก สปริงฟีลด์อาร์มเมอรี่ผลิต 1911 ระหว่างปี 1914-1915 เรมิงตันเริ่มผลิตระหว่าง 3 ปีหลังของสงครามโลกครั้งที่ 1 เป็นจำนวนประมาณ 21,000 กระบอก ถ้าสงครามยืดเยื้อไปอีกไม่กี่เดือน อีกหลายบริษัทก็คงจะเข้ามามีส่วนในการผลิต ปืน 1911 ที่ผลิตให้กองทหารแคนาดานั้นมีขนาดกระสุน .455
เมื่อสงครามสงบในเดือนพฤศจิกายน 1918 ทหารอเมริกันในฝรั่งเศส กว่า 60% ก็มีปืนกึ่งอัตโนมัติ 1911 ขนาด .45 นี้ ประจำกาย
ในการต่อสู้รบกันในสนามเพลาะของฝรั่งเศส M1911 ใช้ได้ดียิ่ง และก็เป็นปืนทหารของกองทัพบก ทัพเรือ หน่วยนาวิกโยธิน ไม่มีปืนอื่นพกใดได้พัฒนาขึ้นมาอีก และการเปลี่ยนแปลงก็มีเพียงเล็กๆน้อยๆ คือการเปลี่ยนรูปไกปืน นกสับ ด้าม และปรับปรุงโครงนิดหน่อย
เดือนมิถุนายน 1926 M1911 ได้ชื่อใหม่เป็น M1911A1 วันที่ 17 พฤษภาคม 1926 คำสั่ง 5453 บอกว่า " ปืนที่มีหมายเลขต่ำกว่า 700,000 ให้เรียกว่า M1911 ตั้งแต่หมายเลข 700,000 ขึ้นไป ให้เป็นปืน M1911A1" ระหว่างสงครามโลกครั้งที่หนึ่งและสองนั้นก็มีการผลิตไม่กี่กระบอก
เมื่อใกล้สงครามโลกครั้งที่สองเข้ามา คอลท์เร่งผลิต M1911A1ออกมา หลายบริษัทได้รับสัญญาจากรัฐบาลให้ทำปืน M1911A1 นี้ด้วย คือ Remington-Rand (เรมิงตัน-แรนด์) 900,000 Colt (โคลท์) 400,000 Ithaca Gun Co (บริษัทปืนอิธาคา ) 400,000 Union Switch & Signal (ยูเนียนสวิทช์แอนด์ซิกแนล) 50,000 Singer Co (บริษัทซิงเกอร์) 500
ปืน 1911 ที่ยังคงค้างอยู่ในคลังอาวุธก็เอาออกมาตรวจสอบและเอากลับเข้าประจำการ กรมสรรพาวุธทำหน้าที่ตรวจซ่อม ส่วนใหญ่เป็นการเปลี่ยนชิ้นส่วนที่สึกหรอ และทำผิวใหม่เป็นผิวด้าน (Parkerized)
แม้ว่า 1911A1 จะถูกตำหนิว่าหนัก เก้งก้าง และไม่แม่นยำ แต่ในระยะประชิดแล้ว มันเป็นปืนที่เชื่อถือได้ ทำงานยอดเยี่ยม ประเภทโป้งจอด บรูซ เอ็น. แคนฟีลด์ เขียนไว้ในหนังสือ "อาวุธของทหารราบในสงครามโลกครั้งที่สอง" ดังนี้
"มีเหตุการณ์เขย่าขวัญที่กองบัญชาการเมื่อนายทหารญี่ปุ่นถือดาบซามูไรโผล่ออกมาในที่แจ้งกับพลปืนยาวสองนาย แล้วพุ่งเข้าใส่ อาชเชอร์ แวนเดอกริฟท์ ซึ่งยืนอยู่คนเดียวโดยปราศจากอาวุธ จ่าเชฟฟีลด์ แบนทา หยุดพิมพ์รายงาน คว้าปืนกึ่งอัตโนมัติ .45 เป่านายทหารญี่ปุ่นผู้นั้นร่วง ล้มลงตายทันที
แม้ว่าปืนคาร์บิน วิลเลียมส์ M1 จะออกมามากมายเพื่อมาใช้แทน M1911A1 ก็แทนกันไม่ได้อยู่ดี จะเห็นภาพทหารอเมริกันถือคาร์บิน ห้อย .45 ที่เอวจนชินตา
จากสงครามโลกครั้งที่สอง M1911A1 ก็ไปรบที่เกาหลี แล้วก็เวียตนาม ถูกปลดประจำการในที่สุด เมื่อกองทัพเอาแบเรตต้า 9 มม. เข้ามาแทน แม้ว่าจะถูกปล่อยเข้าป่า M1911A1 ก็ยังอยู่ในความนิยม บรรจุกระสุนได้ไม่มากเท่าปืนที่เข้ามาแทน แต่อำนาจการหยุดยั้งนั้นไม่มีใครเถียง
ขอให้ M1911A1 จงอยู่คู่ฟ้าดิน
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
rockguns
บุคคลทั่วไป
|
 |
« ตอบ #100 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 20, 2008, 10:49:42 PM » |
|
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
izoze
ปืนเก่า...ตัวแทนของพ่อ
ชาว อวป.
Full Member
  
คะแนน 8
ออฟไลน์
เพศ: 
กระทู้: 104
วันนี้คุณทำให้พ่อ-แม่ ยิ้มแล้วหรือยัง
|
 |
« ตอบ #101 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 20, 2008, 11:10:00 PM » |
|
น้ำตาจะไหลครับ ซาบซึ้งบทความ ความรู้ครับ แฮ่ะ..แฮ่ะ..ชอบมากครับ ได้ความรู้มากทีเดียว เชียร์ครับ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
|
Ro@d - รักในหลวง
รักเธอ.. ประเทศไทย
ชาว อวป.
Hero Member
  
คะแนน 4088
ออฟไลน์
เพศ: 
กระทู้: 20186
1 คัน 1 ชีวิตที่อิสระ มี G23 กาแฟอีก 1 เป็นเพื่อน
|
 |
« ตอบ #103 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 21, 2008, 12:15:41 PM » |
|
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
DK Thara
ชาว อวป.
Full Member
  
คะแนน 22
ออฟไลน์
เพศ: 
กระทู้: 391
จะไม่สร้างภาระให้สังคม
|
 |
« ตอบ #104 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 21, 2008, 12:46:47 PM » |
|
ขอบคุณครับท่าน Sundance ข้อมูลแน่นจริงๆ เลยครับ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
ปทุมวันสร้างคน ช่างกลสร้างสรรค์ GearGuns สร้างทีม ชมรมกีฬายิงปืนช่างกลปทุมวัน
|
|
|
|