USP40
บุคคลทั่วไป
|
 |
« ตอบ #30 เมื่อ: กันยายน 30, 2009, 03:14:14 AM » |
|
ยิงให้ตาย แล้วเดินไปดูศพ จับปืนในมือมันยิงมาในทิศทางเดิมสัก2-3นัด แล้วบอกว่า มันยิงพลางถอยพลาง  Better to be tried by 12, than carried by 6 . อิอิอิ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
Yoshiki_Silencer - รักในหลวง
ชาว อวป.
Sr. Member
  
คะแนน 278
ออฟไลน์
เพศ: 
กระทู้: 597
ลูกศิษย์ครูหมู (ด้วยอีกคน)
|
 |
« ตอบ #31 เมื่อ: กันยายน 30, 2009, 03:24:19 AM » |
|
ดึกมากแล้วกลับบ้าน ในขณะที่ลงจากรถไปเปิดประตูบ้าน มีเสียงดังปัง แขนซ้ายชาดิก หันไปเหนคนวิ่งจากไปในระยะ 10 ม. ขักปืนออกมาทันที เหนหลังในระยะ 15 ม. ถ้ายิงนี่เปนพยายามฆ่า หรือปล่าวครับ ขอบคุณทุกท่าน/
ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๖๘ ผู้ใดจำต้องกระทำการใดเพื่อป้องกันสิทธิของตน หรือของผู้อื่นให้พ้น
ภยันตรายซึ่งเกิดจากการประทุษร้ายอันละเมิดต่อกฎหมาย และเป็นภยันตรายที่ใกล้จะถึง ถ้าได้กระทำพอ
สมควรแก่เหตุ การกระทำนั้นเป็นการป้องกันโดยชอบด้วยกฎหมาย ผู้นั้นไม่มีความผิด
มาตรา ๗๒ ผู้ใดบันดาลโทสะโดยถูกข่มเหงอย่างร้ายแรงด้วยเหตุอันไม่เป็นธรรม จึงกระทำความผิด
ต่อผู้ข่มเหงในขณะนั้น ศาลจะลงโทษผู้นั้นน้อยกว่าที่กฎหมายกำหนดไว้สำหรับความผิดนั้นเพียงใดก็ได้ เรื่องนี้ถ้าดูตามหลักกฎหมายข้างต้นไม่เป็นป้องกันตามมาตรา ๖๘ แน่นอน เพราะคนร้ายได้หันหลัง
วิ่งหนีไปแล้วโดยไม่มีพฤติการณ์ที่จะยิงซ้ำ ถือได้ว่าภยันตรายซึ่งเกิดจากการประทุษร้ายอันละเมิดต่อกฎหมาย
ได้ผ่านพ้นไปแล้ว ยังไงก็ไม่เป็นป้องกันแน่นอน
อย่างไรก็ตามการที่มีคนร้ายมายิงเราแล้ววิ่งหลบหนีไปถือได้ว่าเราถูกข่มเหงอย่างร้ายแรงด้วยเหตุอันไม่เป็นธรรม
หากเรายิงคนร้ายไปก็ถือได้ว่าเป็นการกระทำไปโดยบันดาลโทสะ ตามมาตรา ๗๒ ซึ่งศาลจะลงโทษเราน้อยกว่าที่
กฎหมายกำหนดไว้สำหรับความผิดนั้นเพียงใดก็ได้ แต่อย่างไรเสียก็ยังเป็นความผิดฐานพยายามฆ่าอยู่ดี
สำหรับส่วนตัวผมเคยอ่านคำพิพากษาเก่า ๆ ซึ่งเป็นเรื่องที่เจ้าพนักงาน ( ไม่แน่ใจว่าเป็นตำรวจหรือพัศดี )
ติดตามจับกุมคนร้ายซึ่งหนีจากที่คุมขังและมีอาวุธปืน และเจ้าพนักงานดังกล่าวได้ใช้อาวุธปืนยิงคนร้ายจนถึงแก่ความตาย
ศาลเคยวินิจฉัยว่าเป็นการใช้กำลังเข้าจับกุมคนร้ายโดยเหมาะสมแก่พฤติการณ์แห่งคดีแล้ว เจ้าพนักงานผู้นั้นไม่มีความผิด
ทีนี้พอเรามาอ่านประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๗๙ ซึ่งบัญญัติว่า ราษฎรจะจับผู้อื่นไม่ได้เว้นแต่
จะเข้าอยู่ในเกณฑ์แห่งมาตรา ๘๒ หรือเมื่อผู้นั้นกระทำความผิดซึ่งหน้า และความผิดนั้นได้ระบุไว้ในบัญชีท้ายประมวลกฎหมาย
นี้ด้วย ซึ่งความผิดฐานพยายามฆ่านั้นเป็นความผิดที่ระบุไว้ในบัญชีท้ายประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาด้วย จึงเป็น
ความผิดที่ราษฏรมีอำนาจจับได้หากเป็นความผิดซึ่งหน้า ทีนี้เรามาลองคิดกันเล่น ๆ ว่าตามกรณีที่ยกตัวอย่างเมื่อเราถูกยิง
มันย่อมเป็นความผิดซึ่งหน้า คนถูกยิงย่อมมีอำนาจจับกุมตัวคนร้ายได้ตามบทกฎหมายข้างต้นแล้ว หากคนถูกยิงจะยิงคนร้าย
ดังกล่าวบ้างเพื่อจับกุมตัวคนร้าย พอจะถือได้ว่าเป็นการใช้กำลังเข้าจับกุมคนร้ายโดยเหมาะสมแก่พฤติการณ์แห่งคดีโดยไม่มี
ความผิดเหมือนตัวอย่างที่ยกไปข้างต้นได้หรือไม่ น่าคิดนะครับ ยังไงก็รบกวนผู้ที่มีความรู้ทางกฎหมายช่วยแสดงความคิดเห็นกันหน่อย
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
ไม่ว่าจะเกลียดขี้หน้าใครขนาดไหน... แต่ตราบใดที่เขายังถูกต้องตามหลักการ ก็จะต้องปกป้องเขา เพราะสิ่งที่ปกป้องมันมากกว่า บุคคล แต่มันคือหลักการที่จะทำให้ระบบดำเนินต่อไปได้
|
|
|
Yoshiki_Silencer - รักในหลวง
ชาว อวป.
Sr. Member
  
คะแนน 278
ออฟไลน์
เพศ: 
กระทู้: 597
ลูกศิษย์ครูหมู (ด้วยอีกคน)
|
 |
« ตอบ #32 เมื่อ: กันยายน 30, 2009, 03:27:57 AM » |
|
ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๖๘ ผู้ใดจำต้องกระทำการใดเพื่อป้องกันสิทธิของตน หรือของผู้อื่นให้พ้น
ภยันตรายซึ่งเกิดจากการประทุษร้ายอันละเมิดต่อกฎหมาย และเป็นภยันตรายที่ใกล้จะถึง ถ้าได้กระทำพอ
สมควรแก่เหตุ การกระทำนั้นเป็นการป้องกันโดยชอบด้วยกฎหมาย ผู้นั้นไม่มีความผิด
มาตรา ๗๒ ผู้ใดบันดาลโทสะโดยถูกข่มเหงอย่างร้ายแรงด้วยเหตุอันไม่เป็นธรรม จึงกระทำความผิด
ต่อผู้ข่มเหงในขณะนั้น ศาลจะลงโทษผู้นั้นน้อยกว่าที่กฎหมายกำหนดไว้สำหรับความผิดนั้นเพียงใดก็ได้ เรื่องนี้ถ้าดูตามหลักกฎหมายข้างต้นไม่เป็นป้องกันตามมาตรา ๖๘ แน่นอน เพราะคนร้ายได้หันหลัง
วิ่งหนีไปแล้วโดยไม่มีพฤติการณ์ที่จะยิงซ้ำ ถือได้ว่าภยันตรายซึ่งเกิดจากการประทุษร้ายอันละเมิดต่อกฎหมาย
ได้ผ่านพ้นไปแล้ว ยังไงก็ไม่เป็นป้องกันแน่นอน
อย่างไรก็ตามการที่มีคนร้ายมายิงเราแล้ววิ่งหลบหนีไปถือได้ว่าเราถูกข่มเหงอย่างร้ายแรงด้วยเหตุอันไม่เป็นธรรม
หากเรายิงคนร้ายไปก็ถือได้ว่าเป็นการกระทำไปโดยบันดาลโทสะ ตามมาตรา ๗๒ ซึ่งศาลจะลงโทษเราน้อยกว่าที่
กฎหมายกำหนดไว้สำหรับความผิดนั้นเพียงใดก็ได้ แต่อย่างไรเสียก็ยังเป็นความผิดฐานพยายามฆ่าอยู่ดี
สำหรับส่วนตัวผมเคยอ่านคำพิพากษาเก่า ๆ ซึ่งเป็นเรื่องที่เจ้าพนักงาน ( ไม่แน่ใจว่าเป็นตำรวจหรือพัศดี )
ติดตามจับกุมคนร้ายซึ่งหนีจากที่คุมขังและมีอาวุธปืน และเจ้าพนักงานดังกล่าวได้ใช้อาวุธปืนยิงคนร้ายจนถึงแก่ความตาย
ศาลเคยวินิจฉัยว่าเป็นการใช้กำลังเข้าจับกุมคนร้ายโดยเหมาะสมแก่พฤติการณ์แห่งคดีแล้ว เจ้าพนักงานผู้นั้นไม่มีความผิด
ทีนี้พอเรามาอ่านประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๗๙ ซึ่งบัญญัติว่า ราษฎรจะจับผู้อื่นไม่ได้เว้นแต่
จะเข้าอยู่ในเกณฑ์แห่งมาตรา ๘๒ หรือเมื่อผู้นั้นกระทำความผิดซึ่งหน้า และความผิดนั้นได้ระบุไว้ในบัญชีท้ายประมวลกฎหมาย
นี้ด้วย ซึ่งความผิดฐานพยายามฆ่านั้นเป็นความผิดที่ระบุไว้ในบัญชีท้ายประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาด้วย จึงเป็น
ความผิดที่ราษฏรมีอำนาจจับได้หากเป็นความผิดซึ่งหน้า ทีนี้เรามาลองคิดกันเล่น ๆ ว่าตามกรณีที่ยกตัวอย่างเมื่อเราถูกยิง
มันย่อมเป็นความผิดซึ่งหน้า คนถูกยิงย่อมมีอำนาจจับกุมตัวคนร้ายได้ตามบทกฎหมายข้างต้นแล้ว หากคนถูกยิงจะยิงคนร้าย
ดังกล่าวบ้างเพื่อจับกุมตัวคนร้าย พอจะถือได้ว่าเป็นการใช้กำลังเข้าจับกุมคนร้ายโดยเหมาะสมแก่พฤติการณ์แห่งคดีโดยไม่มี
ความผิดเหมือนตัวอย่างที่ยกไปข้างต้นได้หรือไม่ น่าคิดนะครับ ยังไงก็รบกวนผู้ที่มีความรู้ทางกฎหมายช่วยแสดงความคิดเห็นกันหน่อย
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
ไม่ว่าจะเกลียดขี้หน้าใครขนาดไหน... แต่ตราบใดที่เขายังถูกต้องตามหลักการ ก็จะต้องปกป้องเขา เพราะสิ่งที่ปกป้องมันมากกว่า บุคคล แต่มันคือหลักการที่จะทำให้ระบบดำเนินต่อไปได้
|
|
|
ธำรง
Hero Member
   
คะแนน 1727
ออฟไลน์
เพศ: 
กระทู้: 8568
.....รักในหลวง.....
|
 |
« ตอบ #33 เมื่อ: กันยายน 30, 2009, 04:54:26 AM » |
|
อยากขอบคุณคุณYoshiki_Silencer ที่ให้ความเห็นและความรู้ครับ 
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
Autumn
ชาว อวป.
Full Member
  
คะแนน 63
ออฟไลน์
กระทู้: 448
|
 |
« ตอบ #34 เมื่อ: กันยายน 30, 2009, 08:11:48 AM » |
|
ยิงถูกแขนแล้ววิ่งหนี แสดงว่า เขาไม่เจตนาต่อชีวิต ยิงขู่ แต่พลาด ไปถูกแขน ยังดีที่ไม่ถูกที่อื่นมากกว่านี้
สถานการณ์ที่เล่ามา ถ้าข้อความจริงยุติตรงที่ จขกท ว่ามา ผมว่า มันแปล ๆ อยู่นา
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
miracle_legent
Full Member
 
คะแนน 5
ออฟไลน์
กระทู้: 174
|
 |
« ตอบ #35 เมื่อ: กันยายน 30, 2009, 10:31:55 AM » |
|
เป็นผมจะยิงสวนไปแบบไม่ให้โดน ยิงขู่ๆอะครับ และรอดูถ้ามียิงกลับ ก็จัดการเลยครับ เราอยู่ในที่กำบังเขาวิ่งบนถนน ยิงไปพลางเรียกตำรวจไปก็ได้ แต่ถ้ามันวิ่งอย่างเีดียวเราจะสามารถอ้างได้หรือไม่ว่า เรากระทำไปเพื่อป้องกันตัว เมื่อเห็นคนกำลังจะเข้ามาทำร้ายถืออาวุธปืนอยู่
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
FOXTROT
Jr. Member

คะแนน 6
ออฟไลน์
กระทู้: 50
|
 |
« ตอบ #36 เมื่อ: กันยายน 30, 2009, 06:59:15 PM » |
|
ขอบคุณทุกท่านและคุณ Yoshiki_Silencerครับ ผมมาคิดดู น่าเปนจ้างมาราคาถูก (พวกขี้ยา) กะนัดเดียวอยู่ แต่ไม่อยู่ เลยถอดใจ รึไม่อีกนัดมันด้าน ไม่ก้อขัด แต่เสียงปืน คล้าย .38 สเป. (เคยฟังเอาตามสนามครับ) แต่เอาเปนว่า มันถอดใจ ไม่แน่อาจไม่เคยยิงปืนมาก่อนด้วยซ้ำครับ ให้คนตาม แต่แถวบ้านไม่รู้ใครเปนใครครับ ยาก
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
FOXTROT
Jr. Member

คะแนน 6
ออฟไลน์
กระทู้: 50
|
 |
« ตอบ #37 เมื่อ: กันยายน 30, 2009, 07:08:44 PM » |
|
อ่อ ตอนไปทำแผลที่ รพ. (เฉียวท้องแขนซ้าย เย็บ 6 เข็ม) ตำรวจมาตรึม ไวมาก ผมขอแจ้งความให้ตามคนยิง เขาบอกว่าทำแผลเสร็จให้ไปโรงพักก่อนแล้วแจ้งความ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
Daimyo
ชาว อวป.
Hero Member
  
คะแนน 924
ออฟไลน์
เพศ: 
กระทู้: 9042
|
 |
« ตอบ #38 เมื่อ: กันยายน 30, 2009, 07:48:13 PM » |
|
ท่านอัยการมาตอบเองเลย....
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
ดังสายลมที่พัดผ่านลานป่า..พาใบไม้พลัดถิ่น..ดั่งสายน้ำที่ไหลรินพัดพา..นำดวงใจฉันมาใกล้เธอ.. "ความหวังดีที่เธอให้สังคม ฉันชื่นชมเธอเสมอ"
|
|
|
nick5017
ชาว อวป.
Jr. Member
  
คะแนน 8
ออฟไลน์
กระทู้: 55
|
 |
« ตอบ #39 เมื่อ: ตุลาคม 01, 2009, 11:24:05 AM » |
|
จากประสบการณ์อันน้อยนิด! สถานการณ์แบบนั้น อยู่ที่ตัวเราครับ ว่ามีความพร้อมมากขนาดไหน
คือ 1.ถ้าพร้อมจะมีเรื่องยาวๆ ต่อ ก็พยายามยิงให้คนร้ายตาย จะยิงอย่างไรก็แล้วแต่
2. ถ้าเราไม่มีความพร้อม ก็ต้องยิงตอบโต้ เป็นชุด จะขึ้นฟ้า ลงดิน อย่างไรก็แล้วแต่ในทิศทางที่ปลอยภัย ไม่เป็นอันตรายกับใคร เพื่อเป็นการข่มขวัญ คู่ต่อสู้
แต่จะไม่ยิงตอบโต้เลย ทั้งที่มีปืน ขาดทุนไปหน่อยครับ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
Kapiman - รักในหลวง
ชาว อวป.
Sr. Member
  
คะแนน 64
ออฟไลน์
เพศ: 
กระทู้: 563
|
 |
« ตอบ #40 เมื่อ: ตุลาคม 01, 2009, 11:49:07 AM » |
|
หาก จขกท. มีปืนถูกกฏหมาย โดนยิงก่อน คนร้ายวิ่งหนีโดยหันหลัง(ในมือมีปืน) แล้วจขกท.ยิง จะตายหรือไม่ตาย ก็ต้องโดนแจ้งข้อหาไว้ก่อน แล้วค่อยไปสู้ในศาล
ในกรณีนี้ไม่ใช่การมีเรื่องด้วยความเมาหรือเขม่นกัน แต่นี่เป็นการลอบทำร้าย ผมว่าคนร้ายคงไม่เก่งขนาดยิงแขนแค่ขู่ให้กลัวหรือสั่งสอน แต่น่าจะเป็นการเอาชีวิตมากว่า แต่พลาด เป็นผมขอยิงไว้ก่อนครับ เราไม่แน่ใจว่าคนร้ายที่รอดไปจะกลับมาทำร้ายเราอีกหรือไม่ ยังไงซะก็ต้องเอาคนร้ายให้อยู่ แล้วก็ให้ตำรวจ สอบสวนเอาว่าต้นสายปลายเหตุเป็นมายังไง ถึงได้มายิงเรา คดีก็น่าจะง่ายขึ้น เพราะตัว จขกท.เอง ก็ไม่รู้ว่าโดนยิงเพราะสาเหตุอะไร
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
polo_p13
Jr. Member

คะแนน 10
ออฟไลน์
กระทู้: 34
|
 |
« ตอบ #41 เมื่อ: ตุลาคม 01, 2009, 12:30:25 PM » |
|
จากคำพยาม พยายามฆ่า vs ป้องกันตัว ในประเด็นข้อกฏหมาย ในความเห็นของผมคงเหมือนกับหลายท่าน การยิงตอบออกไปขึ้นอยู่กับเจตนาในการลั่นกระสุน 1. หากคนร้ายวิงหนีไปแล้ว อันตรายพ้นไปแล้ว แต่ยังเรายังมีโทสะอยู่ คงเป็นบันดาลโทสะ 2. แต่หากคนร้ายแค่ถอยและยังถือปืนอยู่ในมือพร้อมที่จะลั่นไก เป็นอันตรายต่อชีวิตเรา น่าจะเป็นป้องกันตัว
ในทางปฏิบัติ หากเป็นผม เมื่อคนเข้ามาทำร้ายและยิงถูกแขนแล้ว ผมจะต้องเอาตัวรอดจากคมกระสุนของฝ่ายทีุ่มุ่งร้ายได้ก่อน ซึ๋งอาจจะเป็นการวิ่งหนีตั้งหลัก หรือยิงตอบโต้ไปก่อน ส่วนเวลากลางคืนนั้นผมคงไม่มีเวลามองว่าคนร้ายจะหันหน้าหรือหันหลัง หากมีปืนอยู่ในมือเห็นตัวคนแล้ว ผมคงยิงตอบโต้เพื่อป้องกันตัวไปก่อน หลังจากพ้นอันตรายแล้วค่อยว่ากัน
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
land
Newbie
คะแนน 0
ออฟไลน์
กระทู้: 2
|
 |
« ตอบ #42 เมื่อ: ตุลาคม 01, 2009, 02:50:37 PM » |
|
ยิงครับ ต้องจัดการเรื่องคดีไปสู้กันทีหลังครับ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
supun4252
ชาว อวป.
Newbie
  
คะแนน 0
ออฟไลน์
กระทู้: 7
|
 |
« ตอบ #43 เมื่อ: ตุลาคม 01, 2009, 04:02:01 PM » |
|
ถูกลอบทำร้ายขนาดนั้นมีปืนในตัวไม่ยิงตอบโต้ก็ไม่ต้องดิ้นรนขอซื้อปืนแล้วครับ.. ถ้าคนร้ายตายและปืนอยู่ในมือคนร้ายด้วยสู้คดีได้ครับ...
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
๐๐๓
“กมฺมุนา วตฺตตีโลโก”
ชาว อวป.
Sr. Member
  
คะแนน 89
ออฟไลน์
เพศ: 
กระทู้: 529
|
 |
« ตอบ #44 เมื่อ: ตุลาคม 01, 2009, 07:18:50 PM » |
|
ถูกลอบทำร้ายขนาดนั้นมีปืนในตัวไม่ยิงตอบโต้ก็ไม่ต้องดิ้นรนขอซื้อปืนแล้วครับ.. ถ้าคนร้ายตายและปืนอยู่ในมือคนร้ายด้วยสู้คดีได้ครับ...
ถ้าอย่างนั้นต้องแนะนำให้หาเสื้อกันกระสุนมาใส่ รองเท้าวิ่งดีๆ ซักคู่ ตามด้วยเครื่องรางอาจารย์ดังซักพวง น่าจะมีลุ้นกว่าครับ 
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
|