686
ชาว อวป.
Hero Member
  
คะแนน 471
ออฟไลน์
เพศ: 
กระทู้: 3988
|
 |
« ตอบ #330 เมื่อ: ตุลาคม 14, 2005, 02:22:33 PM » |
|
BQM-34 Firebee - Ryan
BQM-34 ถูกออกแบบให้เป็น เป้าทดสอบอาวุธความเร็วสูง เพื่อฝึกยิง แต่ในช่วงสงครามอ่าว เมื่อปี 1991 Firebee ได้ถูกนำไปใช้เป็นเป้าลวงเพื่อให้ทางฝ่าย อิรัก เปิดเรด้า ล๊อกเป้าหมาย แล้วให้ F-4G Advanced Wild Weasel ใช้จรวตต่อต้านเรด้า เข้าโจมตี เรด้า ล๊อกเป้าที่เปิด
[ไฟล์แนบถูกลบโดยผู้ดำเนินการ]
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
686
ชาว อวป.
Hero Member
  
คะแนน 471
ออฟไลน์
เพศ: 
กระทู้: 3988
|
 |
« ตอบ #331 เมื่อ: ตุลาคม 14, 2005, 02:33:34 PM » |
|
Texas Instruments AGM-45 Shrike AGM-45 เป็นจรวตต่อต้านเรด้ายุคแรก พัฒนาในช่วงสงครามเวียตนาม   ภาพ F-4G Advanced Wild Weasel กำลังยิง Shrike AGM-88 HARMเป็รจรวดต่อต้านเรด้ารุ่นต่อมาที่ใช้ในสงครามอ่าว จนถึงปัจจุบัน  
|
|
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: ตุลาคม 14, 2005, 02:38:51 PM โดย M686 »
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
อรชุน-รักในหลวง
หมู่โลหิต O
ชาว อวป.
Hero Member
  
คะแนน 1599
ออฟไลน์
เพศ: 
กระทู้: 10265
ขาย-อัพเกรด คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง
|
 |
« ตอบ #332 เมื่อ: ตุลาคม 14, 2005, 02:51:00 PM » |
|
เอฟ 35 บี STOVL เขี้ยวเล็บในอนาคตของกองทัพบินอังกฤษ (ต่อ)
ประวัติของเครื่องบินขับไล่ เอฟ 35 ซึ่งได้รับเลือกตามโครงการ เจเอสเอฟ โดยกระทรวงกลาโหมสหรัฐฯ ประกาศเป็นผู้ได้รับชัยชนะเมื่อปี พ.ศ. 2544 ที่ผ่านมา เดิมคือ เอ็กซ์ 35 แข่งขันกับ เอ็กซ์ 32 ของบริษัท โบอิ้ง ตามความต้องการทางยุทธการและการกำหนดคุณลักษณะของกระทรวงกลาโหมสหรัฐฯ เครื่องบินทั้งสามรุ่นที่จะเข้าประจำการทั้ง 3 กองทัพ จะต้องมีลักษณะและองค์ประกอบที่ใช้ชิ้นส่วนเดียวกันมากที่สุด โดยเริ่มจากการพัฒนาและสร้างเครื่องต้นแบบเพื่อใช้ทำการทดสอบแข่งขันกัน เป็นรุ่นที่ใช้งานสำหรับกองทัพอากาศ เมื่อทำการทดสอบตามแผนงานเสร็จสิ้น ต่อจากนั้นเครื่องบินต้นแบบทั้ง เอ็กซ์ 32 และเอ็กซ์ 35 ได้รับดัดแปลง เป็นรุ่นใช้งานบนเรือบรรทุกเครื่องบินของกองทัพเรือ และ สุดท้ายได้ทำการดัดแปลงเครื่องต้นแบบรุ่นใช้งานสำหรับนาวิกโยธิน ซึ่งเป็นรุ่นที่มีความยุ่งยากและสลับซับซ้อนมากที่สุด เพราะต้องทำการดัดแปลงเครื่องบินให้สามารถทำการบินขึ้นโดยใช้ระยะทางวิ่งขึ้นสั้นและลงจอดในแนวดิ่ง โดยที่โครงสร้างและชิ้นส่วนต่างๆ ยังคงเหมือนเดิม มีการดัดแปลงเพียงเล็กน้อยเท่านั้น แต่มีการดัดแปลงเครื่องยนต์ เพื่อให้สามารถทำการบินขึ้นและลงจอด ที่ตามที่กองทัพกำหนดไว้
ในระยะขั้นตอนการแข่งขันระหว่าง เอ็กซ์ 32 และเอ็กซ์ 35 ในรุ่นของกองทัพอากาศและกองทัพเรือ เครื่องบินต้นแบบของทั้งสองบริษัท ทำได้ตามที่กองทัพกำหนดและมีขีดความสามารถสูสีเรียกว่า เบียดกันมาโดยตลอด แต่มาถึงรุ่นใช้งานสำหรับนาวิกโยธิน ปรากฎว่า เอ็กซ์ 35 สามารถนำห่างเข้าสู่เส้นชัยเป็นผลสำเร็จ โดยเฉพาะการแสดงสมรรถนะให้เห็นในการทดสอบที่เรียกว่า Mission X นักบินที่ทำการทดสอบคือ นาวาตรี อาร์ท โทมาสเซททิ (Maj.Art Tomasseti) นักบินลองเครื่องของนาวิกโยธิน ผู้มีชั่วโมงบินกับเครื่องบิน เอวี 8 ฮาริเออร์ มากกว่า 1,500 ชั่วโมง กระทำการทดสอบเมื่อ 20 กรกฎาคม 2544 นักบินได้นำเอ็กซ์ 35 ทำการวิ่งขึ้นโดยใช้ระยะทางวิ่งขึ้นสั้น จากนั้นได้เปลี่ยนโหมดการบินจาก STOVL เป็นโหมดการบินแบบธรรมดา (CTOL) ที่ระดับความสูง 5,000 ฟุต นำเครื่องบินไต่ไปที่ระดับความสูง 25,000 ฟุต แล้วเร่งเครื่องบินให้ทะยานไปข้างหน้าด้วยความเร็วเหนือเสียง จากนั้นได้เปลี่ยนมาเป็นโหมด STOVL เพื่อลดความเร็วและนำเครื่องลงจอดด้วยความปลอดภัย โดยการทดสอบทั้งหมดทำการทดสอบในเที่ยวบินเดียวกัน ทั้งที่จริงแล้วการทดสอบการบินที่ความเร็วเหนือเสียงไม่อยู่ในการทดสอบตามแผนงานที่กำหนดไว้แต่เป็นการแสดงให้เห็นว่าเอ็กซ์ 35 บี ล้ำหน้าคู่แข่งไปแล้ว
เอ็กซ์ 35 มีความก้าวหน้าในการบินทดสอบไปเหนือกว่า เอ็กซ์ 32 ซึ่งไม่สามารถทำการบินความเร็วเหนือเสียง เมื่อดัดแปลงเครื่องเป็นรุ่นใช้งานของนาวิกโยธิน และประสบปัญหาทางเทคนิค ไม่สามารถทำการบินได้ดังเช่น เอฟ 35 บี ถ้าหากจะกล่าวว่า เอ็กซ์ 35 คือผู้กำชัยชนะมาให้กับลอคฮีด มาร์ติน ก็คงไม่ผิด
จากกำหนดความต้องการทางยุทธการและงานแผนแบบของกองทัพสหรัฐฯ ที่ต้องการให้เครื่องบิน เอฟ 35 ที่ได้รับการคัดเลือกมีคุณลักษณะและชิ้นส่วนประกอบเดียวกันมากที่สุด อาจจะแตกต่างกันบ้าง เช่น ขนาดพื้นที่ปีกและความหนาของปีก เครื่องยนต์ยี่ห้อเดียวกัน ระบบอาวุธติดตั้งใช้งานเหมือนกัน แต่ดัดแปลงเพิ่มเติมโครงสร้างภายนอกให้เหมาะสมกับเครื่องบินแต่ละรุ่นที่ใช้งาน ในแต่ละเหล่าทัพ
เอฟ 35 บี รุ่น STOVL มีความแตกต่างจาก เอฟ 35 เอ และ เอฟ 35 ซี มากที่สุด และเป็นรุ่นที่ก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและมีคุณลักษณะทางเทคนิคที่สมบูรณ์แบบที่สุด โดยเฉพาะทางด้านเครื่องยนต์ เพื่อให้มีขีดความสามารถในการวิ่งขึ้นโดยใช้ระยะทางวิ่งขึ้นสั้นลงและลงจอดในแนวดิ่ง ในการพัฒนา เอฟ 35 บี บริษัทลอคฮีด มาร์ติน ได้ดึงบริษัท โรลซ์รอยซ์ (Rolls Royce) ประเทศอังกฤษ ซึ่งมีประสบการณ์ในการผลิตเครื่องยนต์พักาซัสติดตั้งกับเครื่องบินฮาริเออร์เข้ามาร่วมด้วย เพื่อเข้ามารับผิดชอบงานระบบใบพัดยกตัว (lift fan system) ของเอฟ 35 โดยเฉพาะ นอกจากนี้ยังมีบริษัท บีเออี ซิสเต็ม อีกบริษัทหนึ่งของประเทศอังกฤษเข้ามาร่วมในงานทางด้านชิ้นส่วนโครงสร้าง
สำหรับเทคโนโลยีใบพัดยกตัว เพื่อให้พลังเพิ่มแรงยกให้เครื่องบินลอยตัวขึ้นเมื่อทำการบินขึ้นและลงจอด บริษัท โรลซ์ รอยซ์ ได้ซื้อสิทธิบัตรมาจากรัสเซียอีกต่อหนึ่ง ซึ่งแต่เดิมนั้นบริษัทตูมัสกี้บริษัทผู้ผลิตเครื่องยนต์อากาศยานของรัสเซียออกแบบและสร้างเพื่อติดตั้งกับเครื่องขับไล่ประจำเรือบรรทุกเครื่องบิน แบบ ยัค 141 ซึ่งเป็นเครื่องบินขับไล้ ประเภท STOVL แบบแรกของโลกที่สามารถทำความเร็วได้เหนือเสียงที่ได้รับการพัฒนาและสร้างขึ้นมาใช้งานและประสบผลสำเร็จในการบินทดสอบ แต่ทางกองทัพรัสเซียไม่ได้จัดซื้อ บริษัทผู้ผลิต ยาคอฟเลฟ จึงล้มเลิกโครงการไป
แบบแผนของ เอฟ 35 บี มีขนาดและคุณลักษณะในการตรวจจับได้ยากเท่ากับ เอฟ 35 เอ ของกองทัพอากาศ แต่เครื่องยนต์ขับเคลื่อนและลำตัว ได้รับการดัดแปลงเพื่อให้สามารถปฏิบัติการวิ่งขึ้นโดยใช้ระยะทางสั้นและลงจอดในแนวดิ่ง ระบบใบพัดยกตัวจะมีส่วนประกอบ 3 ส่วนใหญ่ ส่วนแรกคือชุดใบพัดยกตัวติดตั้งอยู่ด้านหลังห้องนักบิน (สำหรับ เอฟ 35 รุ่นอื่นๆ จะติดตั้งถังเชื้อเพลิงแทน) กำลังขับเคลื่อน ครึ่งหนึ่งจะถูกใช้เมื่อเครื่องบินจะทำการวิ่งขึ้นหรือลงจอด โดยอากาศจะถูกเป่าลงสู่ข้างล่างผ่านทางประตู 2 บาน ติดตั้งอยู่หลังห้องนักบิน ซึ่งบานประตูจะเปิดขึ้นด้านบน พลังมาจากเทอร์ไบน์ของเครื่องยนต์และใบพัดยกตัวผ่านคลัตช์ ชุดใบพัดยกตัวประกอบด้วยกลีบใบพัด 2 ชุดหมุนสวนทางกัน ให้พลังยกตัวประมาณ 18,000 ปอนด์ บริเวณส่วนหน้าของเครื่องบิน การควบคุมแรงขับจากชุดในพัดยกตัวกระทำโดยการผสมผสานระหว่างรอบเครื่องยนต์กับมุมของกลีบใบพัด แรงขับจากชุดใบพัดสามารถปรับทิศทางการเป่าจาก 35 องศา ถึง 95 องศา โดยการวัดจากแนวหัวจรดท้ายของเครื่องบิน ส่วนประกอบของระบบใบพัดยกตัว ส่วนที่สองคือ ท่อท้ายเครื่องยนต์ ที่สามารถปรับทิศทางการขับให้เป่าก๊าซร้อนจากเครื่องยนต์ลงสู่พื้น และส่วนประกอบสุดท้าย คือ ปลายท่อสำหรับเป่าอากาศติดตั้งใต้ปีกข้างละ 1 ท่อ สามารถปรับหมุนขึ้น ลง เพื่อปรับเสถียรภาพการทรงตัวเครื่องบิน ปลายท่อติดตั้งใต้ปีก ให้แรงขัยในการยกตัวท่อละประมาณ 1,500 ปอนด์ การควบคุมการทำงานของปลายท่อกระทำผ่านคันควบคุมด้านข้าง
(เดี๋ยวค่อยมาต่อกันนะ)
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
686
ชาว อวป.
Hero Member
  
คะแนน 471
ออฟไลน์
เพศ: 
กระทู้: 3988
|
 |
« ตอบ #333 เมื่อ: ตุลาคม 14, 2005, 10:33:54 PM » |
|
ดึงภาพจากหน้าที่แล้วจะได้เห็นภาพ ไม่ต้องย้ายไปย้ายมา
[ไฟล์แนบถูกลบโดยผู้ดำเนินการ]
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
686
ชาว อวป.
Hero Member
  
คะแนน 471
ออฟไลน์
เพศ: 
กระทู้: 3988
|
 |
« ตอบ #334 เมื่อ: ตุลาคม 14, 2005, 11:00:47 PM » |
|
 BQM-145A Medium Range UAV เป็นเครื่อง UAV ตรวจการระยะปานกลาง มีประจำการทั้งกองทัพอากาศ และ กองทัพเรื่อ ภาพล่างเป็น Camcopter ของ Schiebel Technology [ไฟล์แนบถูกลบโดยผู้ดำเนินการ]
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
686
ชาว อวป.
Hero Member
  
คะแนน 471
ออฟไลน์
เพศ: 
กระทู้: 3988
|
 |
« ตอบ #335 เมื่อ: ตุลาคม 15, 2005, 04:38:19 PM » |
|
CL-227 Sentinel CL-327 Guardian เป็น โดรน สอดแนมขึ้นลงทางดิ่ง ที่ทันสมัยที่สุด ที่ประจำการบนเรื่อรบของ อเมริกาในปัจจุบัน เป็นความร่วมมือกันระหว่าง แคนนาดา กับ กองทัพเรือ อเมริกา  CL-327 Guardian ภาพล่าง CL-227 Sentinel [ไฟล์แนบถูกลบโดยผู้ดำเนินการ]
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
686
ชาว อวป.
Hero Member
  
คะแนน 471
ออฟไลน์
เพศ: 
กระทู้: 3988
|
 |
« ตอบ #336 เมื่อ: ตุลาคม 15, 2005, 06:29:13 PM » |
|
คราวนี้มาเป็ชุดเลยครับ โดนทั้งหมดเป็น UAV ลาดตระเวน ขึ้นลงทางดิ่ง Vertical Take Off and Landing Tactical Unmanned Aerial Vehicle (VTUAV)  Heliwing  Cypher  Dragon Stalker  Free Wing Scorpion  Micro Craft Lift Augmented Ducted Fan
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
lek
ชาว อวป.
Hero Member
  
คะแนน 1594
ออฟไลน์
เพศ: 
กระทู้: 13942
การแบ่งปัน ทำให้เราและคนอื่นมีความสุข
|
 |
« ตอบ #337 เมื่อ: ตุลาคม 15, 2005, 06:34:14 PM » |
|
เอามาทําเป้าบินเหรอคับ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
686
ชาว อวป.
Hero Member
  
คะแนน 471
ออฟไลน์
เพศ: 
กระทู้: 3988
|
 |
« ตอบ #338 เมื่อ: ตุลาคม 15, 2005, 06:59:38 PM » |
|
UAV ที่ผมโพสทั้งหมด มีเป้าบินอยู่เพียงตัวเดียวครับ คือ BQM-34 Firebee ส่วนมากเป็น UAV ตวจการณ์ และ บางแบบเป็นเครื่องทดสอบ วิจัย เพื่อการพัฒนา UAV อีกต่อหนึ่ง
[ไฟล์แนบถูกลบโดยผู้ดำเนินการ]
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
686
ชาว อวป.
Hero Member
  
คะแนน 471
ออฟไลน์
เพศ: 
กระทู้: 3988
|
 |
« ตอบ #339 เมื่อ: ตุลาคม 16, 2005, 12:54:20 PM » |
|
CL-289- Bomberdier  เป็น UAV ที่เกิดจากความร่วมมือของ เยอร์มัน และ แคนนาดา เป็น UAV ถ่ายภาพ และ สอดแนมหน้า ใช้ใน โคโซโว มาแล้ว [ไฟล์แนบถูกลบโดยผู้ดำเนินการ]
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
686
ชาว อวป.
Hero Member
  
คะแนน 471
ออฟไลน์
เพศ: 
กระทู้: 3988
|
 |
« ตอบ #340 เมื่อ: ตุลาคม 16, 2005, 01:07:37 PM » |
|
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
686
ชาว อวป.
Hero Member
  
คะแนน 471
ออฟไลน์
เพศ: 
กระทู้: 3988
|
 |
« ตอบ #341 เมื่อ: ตุลาคม 16, 2005, 01:48:53 PM » |
|
DarkStar RQ-3A Lockheed Martin  RQ-3A หรือ อีกชื่อหนึ่งว่า DarkStar ดาวมืด เป็นความร่วมมือของ บริษัทคู่แข่งในโครงการ JSF ระหว่า บริษัท Lockheed Martin กับ บริษัท Boeing เพื่อผลิต UAV ตรวจการณ์ระยะไกลเพดานบินสูง เพื่เข้าประจำการในกองทัพ สหรัฐ แต่พ่ายแพ้ต่อ UAV RQ-4 Global Hawk ของบริษัท Northrop Grumman Corp. ที่บินที่ไกลกว่า 3 เท่า โดยที่ DarkStar ปฎิบัติการบินได้ 8 ชั่วโมง ส่วน Global Hawk ปฎิบัติการได้ถึง 24 ชั่วโมง และ บรรทุกอุปกรณ์ ตรวจจับไปได้มากกว่า 2 เท่า ช่องสัญญานของ Global Hawk ก็มีมากกว่า DarkStar เพราะมีพื้นที่ให้ติดอุปกรณ์ต่าง ๆ ได้มากกว่านั่นเอง สิ่งที่ DarkStar มีเหนือกว่า Global Hawk คือ บินได้สูงกว่า คือบินได้สูงกว่า 45,000 ฟุต หรือ 15 กิโลเมตรเหนือพื้นดิน และ ตวจจับได้ยากกว่า เพราะ DarkStar ออกแบบให้ตรวจจับได้ยากด้วย เรด้า นั่นเอง  
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
686
ชาว อวป.
Hero Member
  
คะแนน 471
ออฟไลน์
เพศ: 
กระทู้: 3988
|
 |
« ตอบ #342 เมื่อ: ตุลาคม 16, 2005, 11:43:52 PM » |
|
UAV ลำต่อไปเป็นของ นาวิกโยธิน อเมริกา ครับ Dragon Eye
เป็น UAV ที่เล็กมาก เมื่อเทียบกับคน
[ไฟล์แนบถูกลบโดยผู้ดำเนินการ]
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
686
ชาว อวป.
Hero Member
  
คะแนน 471
ออฟไลน์
เพศ: 
กระทู้: 3988
|
 |
« ตอบ #343 เมื่อ: ตุลาคม 16, 2005, 11:58:05 PM » |
|
Dragonfly Canard-Rotor-Wing UAV
เป็นเครื่องของ บริษัท Boeing อีกแล้วครับ
เครื่อง UAV ลำนี้น่าสนใจมากครับ คือ โรเตอร์ สามารถหยุดหมุน แล้วทำตัวเป็นปีกเพื่อบินในแนวราบด้วยความเร็วสูง
เครื่องยนต์ ของ Drogonfly จะหมุนโรเตอร์ เมื่อจะขึ้นหรือลงทางดิ่ง เหมือน ฮ. ทั่วไป แต่เมื่อบินได้ระดับแล้ว โรเตอร์ จะหยุดหมุน แล้ว เครื่องยนต์ ก็หยุดส่งแรงไปยัง โรเตอร์ แต่จะทำงานต่อโดยใช้ ไอเสียของเครื่อง เป็นแรงดันให้เครื่อง UAV บินไปข้างหน้า
[ไฟล์แนบถูกลบโดยผู้ดำเนินการ]
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
686
ชาว อวป.
Hero Member
  
คะแนน 471
ออฟไลน์
เพศ: 
กระทู้: 3988
|
 |
« ตอบ #344 เมื่อ: ตุลาคม 17, 2005, 09:23:39 AM » |
|
Eagle Eye UAV  โดย Bell Helicopter และ Textron Incorporation (BHTI) เป็น UAV สาธิต เทคโนโลยี่ของ โครงการ จัดหาเครื่องบิน โรเตอร์กระดก หรือ V-22 Osprey เพื่อเป็นการลดความเสี่ยงต่ออุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้น     V-22 Osprey กำลังยก ปืนใหญ่ 105 มม.  V-22 Osprey กำลังเติมเชื้อเพลิงกลางอากาศ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
|